Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10197
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพดล กลิ่นถนอม, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T02:30:41Z-
dc.date.available2023-11-01T02:30:41Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10197-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานของเทศบาลตำบลภายในอำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานของเทศบาลตำบลภายในอำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท จำแนกตามพื้นที่ และ (3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานของเทศบาลตำบลภายในอำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประชากรทั้งหมด ได้แก่ พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ พนักงานจ้างภารกิจ และพนักงานจ้างทั่วไป ที่ปฏิบัติงานอยู่ในเทศบาลตำบลภายในอำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท จำนวน 8 เทศบาล จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษา พบว่า (1) ความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานของเทศบาลตำบลภายในอำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาทในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนก เป็นรายด้านพบว่า ความคิดเห็นด้านหลักนิติธรรมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนด้านหลักความโปร่งใส มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานของเทศบาลตำบลภายในอำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท จำแนกตามพื้นที่ ในภาพรวมพบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน โดยความคิดเห็นของบุคลากรเทศบาลตำบลสรรพยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (3) ปัญหา และอุปสรรค เกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงาน ได้แก่ เทศบาลขาดการส่งเสริมให้บุคลากรได้อบรมความรู้ด้านกฎหมาย เทศบาลขาดการประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ให้ประชาชนได้รับทราบ และการใช้จ่ายงบประมาณของเทศบาลไม่เกิดความคุ้มค่า ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงาน ได้แก่ เทศบาลควรจัดการอบรมหรือส่งเสริมให้ผู้บริหารท้องถิ่น และบุคลากรเข้ารับการอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ในด้านกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ เทศบาลควรประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ให้ประชาชนได้รับทราบมากยิ่งขึ้น และควรจัดทำวารสารท้องถิ่นแจกให้ประชาชนในพื้นที่ และการบริหารงานในองค์กรจะต้องยึดหลักการทำงานให้มีประสิทธิภาพและงานที่ได้จะมีความคุ้มค่าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทศบาลตำบลในอำเภอสรรพยา--ชัยนาท--การบริหารth_TH
dc.subjectบรรษัทภิบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานของเทศบาลตำบลในอำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาทth_TH
dc.title.alternativeOfficials' opinions on the implementation of good governance principles in the administration of Sub-district municipalities in Sapphaya District, Chai Nat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study officials’ opinions on the implementation of good governance principles in the administration of Sub-district Municipalities in Sapphaya District, Chai Nat Province (2) compare officials’ opinions on the implementation of good governance principles in the administration of Sub-district Municipalities in Sapphaya District, Chai Nat Province, classified by areas (3) study problems and suggestions to improve the implementation of good governance principles in the administration of Sub-district Municipalities in Sapphaya District, Chai Nat Province. This research studied whole population consisted of 200 officials of 8 Subdistrict Municipalities in Sapphaya District, Chai Nat Provice. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and One-way ANOVA. The results revealed that (1) officials’ opinions on the implementation of good governance principles in the administration of Sub-district Municipalities in Sapphaya District, Chai Nat Province were at high level, with the highest mean on rules of laws aspect, and the lowest mean on transparency aspect (2) when compared the opinions, no differences were found among opinions of officials from different offices, it was also found that, opinion of officials at Sapphya Sub-district Municipality had the highest mean (3) major problems of the implementation of good governance principles in the administration were: officials were lack of training on rules of laws concerned, the office expenses were lack of value for money, civilian in the area were not enough informed of the offices' operation, recommendations were: the offices should provide training on laws and regulations concerned to the officials, local people should be informed of more information through public relations activities, local pamphlet should be published and distributed to the public, moreover, the organizations should administer on the basis of managerial principles thoroughly to enhance operational efficiency and worthy operationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_139360.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons