Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1019
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปรียา หิรัญประดิษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | พระประสิทธิสุตคุณ (ฤกษ์นาวี), 2499- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-26T02:43:57Z | - |
dc.date.available | 2022-08-26T02:43:57Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1019 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประวัติ 2) วิเคราะห์บทบาทและวิธีการปฏิบัติตนของพระอานนท์ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นพระเลขานุการของพระพุทธเจ้า และ 3) เพื่อนำบทบาทและ คุณสมบัติที่ดีของท่าน มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของพระเลขานุการในคณะสงฆ์ไทย การวิจัยนี้ศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎกและอรรถกถาและการสัมภาษณ์เจาคณะผู้ปกครองสงฆ์จํานวน 7 รูป และนำเสนอผลการวิจัยโดยการพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัยพบว่า 1) พระอานนท์เป็นโอรสของพระเจ้าสุกโทนศากยราช นอกจากจะเป็นสหชาตแล้วยังมีศักดิ์เป็นพระอนุชาของพระพุทธเจ้า พระอานนท์มีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่โดดเด่น จึงได้รับคัดเลือกให้เป็นพุทธอุปัฏฐาก ซึ่งปัจจุบันเรียกพระเลขานุการ เป็นเวลานานถึง 25 พรรษา 2) บทบาทของพระอานนท์ในการเป็นพระเลขานุการของพระพุทธเจ้า มี 3 บทบาทที่สําคัญ ได้แก่ (1) บทบาทพระเลขานุการส่วนพระองค์คืองานถวายการรับใช้ในกิจวัตรประจำวัน งานถวายการรับใช้ในพุทธกิจจําเป็นที่ทรงมอบหมาย งานปฏิสันถารต้อนรับเหล่าพุทธบริษัทสี่ (2) บทบาทพระเลขานุการประจําตําแหน่งพระประมุขสงฆ์เช่น การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การสนับสนุนและพร้อมที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายให้สําเร็จ การเก็บรักษาข้อมูลต่าง ๆ โดยเฉพาะคำสอนของพระพุทธเจ้า การติดตามงานให้พระพุทธเจ้าการให้คําปรึกษาในเบื้องต้นแก่เหล่าพุทธบริษัท การปกป้องพระเกียรติคุณของพระพุทธเจ้าและสถาบันสงฆ์ ฯลฯ และ (3) บทบาทผู้ให้ข้อมูลในที่ประชุมสงฆ์เกี่ยวกับการปกครองสงฆ์ และการบัญญัติวินัย 3) จากการศึกษาความคิดเห็นของเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์พบว่า พระเลขานุการปัจจุบัน ควรยึดพระอานนท์เป็นแบบอย่าง เช่น การสนับสนุนและพร้อมที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายให้สําเร็จการประสานงาน การเก็บรักษาขอมูลต่าง ๆ การติดตามงาน การปกป้องผู้บังคับบัญชา ด้านคุณสมบัติของพระอานนท์ที่พระเลขานุการปัจจุบันควรมีคือ มีบุคลิกดีใฝ่ใจต่อการศึกษา เป็นพหูสูต ช่างคิดช่างสังเกตุช่างถาม ประหยัด เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และคุณธรรม คือจงรักภักดิ์กตัญญักตเวทีอ่อนน้อมถ่อมตน ใจกว้าง ยอมรับคำติชมในการทำงาน ขยันอดทน ละเอียดรอบคอบรับผิดชอบสูงยึดความถูกต้องเว้นอคติ 4 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.320 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พุทธสาวก | th_TH |
dc.subject | พุทธศาสนาเถรวาท | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์บทบาทของพระเลขานุการในพระพุทธศาสนาเถรวาท : ศึกษาเฉพาะกรณีของพระอานนท์ | th_TH |
dc.title.alternative | Analytical study of the secretary's roles in Theravada Buddhism : a case study of the Monk "Ananda" | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.320 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research aimed to study 1) the history of the monk “Ananda”, 2) to analyze his roles and conduct as Lord Buddha’s secretary, and 3) to analyze his role and characteristics that could be used as a guideline for current monk secretaries of the Thai Sanga Order. The study used documentary research of the Tripitaka Commentaries and in-depth interviews of seven senior monks. Then the analytical descriptive was performed. The findings were: 1) Ananda was a son of King Suddhodana and was born on the same day as the Lord Buddha who was also His cousin. Thanks to his outstanding characteristics, he was selected to serve as His secretary for twenty five years. 2) Three important roles of Ananda were: His private secretary, secretary to the Head of Sanga, and an information dissemination role. As the private secretary, Ananda tended to His daily routines as well as other religious assignments and greeted four types of His assemblies. As secretary to the Head of Sanga, he was responsible for problem solving, supportive and preparatory tasks, storing information, particularly His teachings, monitoring His work, providing basic consultation to four types of His assemblies and safe-guarding the reputation of the Lord Buddha and the Sanga. In the information dissemination role, Ananda conveyed to the Sanga convention its governance and discipline-related instructions. 3) The analysis of seven senior monks’ interviews revealed that Ananda’s conduct could be used as a role model for current monk secretaries in the following three aspects: Firstly, Ananda excelled in support and readiness for assignments and achievement; coordination, information storage, task monitoring, and safe-guarding bosses. Secondly, Ananda’s exemplary personal characteristics were a good personality, love of study, scholarship, inquisitiveness, frugality and generosity. Thirdly, he was a man of integrity, loyalty, gratitude, respectfulness, broadmindedness, diligence, perseverance, carefulness, responsibility, righteousness and clear from the Four Prejudices | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พระมหาณรงค์ศักดิ์ ฐิติญาโณ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (5).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License