Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุดม ใจบันทัด, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T02:55:02Z-
dc.date.available2023-11-01T02:55:02Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10201-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของครูและบุคลากรทางการศึกษา (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครูและบุคลากรทางการศึกษา (3) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใน3 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใน 3 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง จำนวน 258 คน การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นอย่างเป็นสัดส่วน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบนัยสำคัญน้อยที่สุดและการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคุณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือปัจจัยด้านความภาคภูมิใจในองค์การ ด้านนโยบายและการบริหารงาน และด้านลักษณะองค์การ โดยร่วมกันทำนายการมีผลต่อความผูกพันต่อองค์การได้ร้อยละ 66 (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีสถานภาพสมรส ตำแหน่งหน้าที่ ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานจนถึงปัจจุบัน แตกต่างกันมีความความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใน 3 จังหวัดภาคใต้ตอนล่างth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting organizational commitment of teachers and educational personnel in colleges under the office of vocational education commission in the Three Lower Southern Provincesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were (1) to study levels of organizational commitment of teachers and educational personnel; (2) to study factors affecting the organizational commitment of teachers and educational personnel; and (3) to compare the organizational commitment of teachers and educational personnel in colleges under the Office of Vocational Education Commission in the three lower southern provinces. This study was a survey research employing a set of questionnaires to collect data from 258 teachers and educational personnel in colleges under the Office of Vocational Education Commission in the three lower southern provinces which were selected by applying Stratified Sampling method. Data was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA, Least Significance Difference and multiple regression. The results of this study showed that (1) the overall organizational commitment of teachers and educational personnel was considered at the highest level; (2) pride in the organization, organizational policy and administration, and organizational characteristics were the key factors affecting the organizational commitment with statistically significant at the 0.05 level and could be predicting the organizational commitment at 66 per cent; (3) teachers and educational personnel in different sex, age and educational background had different level of organizational commitment with statistically significant at the 0.05 level. While teachers and educational personnel in different marital status, job position and work duration had no difference in the organizational commitmenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_130786.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons