Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10202
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorพิมพินันท์ แสงอุทัย, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T03:01:37Z-
dc.date.available2023-11-01T03:01:37Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10202en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) มูลเหตุแห่งการบัญญัติหมวดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2) เปรียบเทียบความเป็นอิสระในการเป็นผู้ทรงสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยภายใต้รัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2540 และพุทธศักราช 2560 3) เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของสาระสำคัญเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ภายใต้รัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2540 และพุทธศักราช 2560 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีวิจัยเอกสาร โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูล จากหมวดสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ซึ่งศึกษาเฉพาะรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ผลการวิจัยพบว่า 1) มูลเหตุแห่งการบัญญัติหมวดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไทยเริ่มก่อตัวตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย แม้จะยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงเด่นชัดแต่ประชาชนเริ่มมีสิทธิและเสรีภาพเพิ่มขึ้น ซึ่งหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช 2475 ในการจัดทำรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ จึงมีเนื้อหาที่ประกอบไปด้วยการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเสมอมา ซึ่งถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการรองรับสถานะของความเป็นมนุษย์ และหลักการสำคัยของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 2) รัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับยังคงบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพไว้มากมายแต่รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติ 4 มาตรา (มาตร 25-28) ที่ถือว่าเป็นการเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้กับประชาชนชาวไทย และบัญญัติให้หน่วยงานของรัฐต้องเคารพสิทธิและเสรีภาพ 3) จากการเปรียบเทียบบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติที่กำหนดให้สิทธิและเสรีภาพต้องผูกพันกับทั้ง 3 ฝ่าย แต่รัฐธรรมนูญฉบับนี้อาจไม่สามารถนำมาบังคับใช้ได้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิทธิมนุษยชน--ไทยth_TH
dc.subjectรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบหมวดสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยศึกษาเฉพาะรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560th_TH
dc.title.alternativeComparative study of rights and liberties of Thai people on the Constitution of the Kingdom of Thailand 1997 and the Constitution of the Kingdom of Thailand 2017en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to study causes of the legislation on rights and liberties of the people in the Constitution of the Kingdom of Thailand (2) to compare the freedom of rights and liberties of the Thai people under the Constitution of 1997 and 2017 and (3) to study the pros and cons of rights and liberties of the people under the Constitution of 1997 and 2017. The qualitative approach was applied in this research by documentary research method. The comparative analysis of rights and freedoms data of Thai people were studied only the Constitution of the Kingdom of Thailand 1997 and the Constitution of the Kingdom of Thailand 2017. This research found that (1) the cause of Thai people's rights and liberties began since Sukhothai period and it not yet seen noticeable changes. The people had more rights and freedom after the change of government in 1932. The formulation of each constitution always consisted of the content about protection of Thai people's rights and liberties. It was considered as an important basis to support the status of humanity and an important principle of democracy. (2) Both constitutions still maintain many rights and liberties. However, the 2017 constitution contained 4 sections (Section 25-28) that were considered to increase rights and liberties for Thai people. The constitution stipulates that government agencies must respect rights and liberties. (3) According to comparison the provisions concerning rights and liberties of the people, the 2017 constitution contains provisions that rights and liberties related to 3 sides of administration (Namely: the legislative, executive and judicial institutions) and key principles of the democratic system. However, this constitution may not actually be enforced because there were still provisions that support the announcement and the order of the National Council for Peace and Order (NCPO) that are not in conformity with human rights principles.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161027.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons