Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษณะ สนธี, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T04:13:38Z-
dc.date.available2023-11-01T04:13:38Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10212-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง จริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐมเป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐม (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อจริยธรรมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐมจำแนกตามลักษระประชากร (3) ประเมินระดับจริยธรรมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐม และ (4) แสวงหาแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาเจ้าหน้าที่เรือนจำ กลางนครปฐมให้มีจริยธรรมในการปฏิบัติงาน ประชากรเป็นเจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐมจำนวน 240 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 150 คนใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า (1) จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐมประกอบด้วยจริยธรรมข้าราชการพลเรือน จรรยาและจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์ รวมทั้งจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เรือนจำกลาง (2) เจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐมที่มีลักษณะงานที่ปฏิบัติต่างกันมีความคิดเห็นต่อจริยธรรมข้าราชการพลเรือน จรรยาและจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์และจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ระดับจริยธรรมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐมในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (4) แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ได้แก่ การสร้างเครือข่ายในเรื่องการส่งเสริมจริยธรรมกับองค์กรและบุคคลต่าง ๆ การจัดฝึกอบรมจริยธรรมประกอบด้วย หลักสูตรการจัดทำมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม หลักสูตรการเสริมสร้างจรรยาบรรณของข้าราชการราชทัณฑ์ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมจริยธรรม และจัดทำค่านิยมสร้างสรรค์เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectจริยธรรมในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เรือนจำกลางนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeThe code of ethics and conduct of Nakornpathom Central Prison's civil servantsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research of The Code of Ethics and Conduct of Nakornpathom Central Prison’s civil servants was a survey research. The purposes of this research were to (1) study civil servants’ code of ethics and conduct related to the operation of correctional officers (2) compare the opinions of correctional officers on code of ethics and conduct categorized by personal factors (3) evaluate the level of work ethics of correctional officers, and (4) find out appropriate ways to improve and enhance ethical performance of correctional officers. Population consisted of 240 correctional officers of Nakornpathom Central Prison. Questionnaire was used with 150 samples. Simple random sampling method was applied. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t- test, and One - way ANOVA. The results were as followings: (1) the ethics related to the operation of correctional officers in Nakornpathom Central Prison consisted of ethics of civil servant , moral of correctional officers and ethics on duties (2) officers with different job characteristic had different opinions with level of statistical significance at 0.05 (3) work ethics of correctional officers in Nakornpathom Central Prison as a whole was at moderate level (4) ways to improve and enhance work ethics of correctional officers included: the supporting of organizational and individual network to encourage the conformity of ethics in operational performance, training programs on ethics should be provided particularly programs on the formulation of moral and ethics standard, and on the strengthening of correctional officers’ integrity, public relations activities to promote the ethics of correctional officers should be as well encouraged together with the creation of shared valueen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_132750.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons