Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10214
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประดินันท์ อุปรมัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมร ทองดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยา กฤษเจริญ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T04:25:28Z-
dc.date.available2023-11-01T04:25:28Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10214-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวตามกระบวนการทำค่านิยม ให้กระจ่าง เพื่อเพิ่มพฤติกรรมการประหยัดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอรุณวิทยา จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ และศึกษาผลการทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่พัฒนาขึ้น โดยเปรียบเทียบคะแนน การประหยัดของนักเรียนกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเพิ่มพฤติกรรมการ ประหยัดของนักเรียน กลุ่มทดลองที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอรุณวิทยา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีการศึกษา 2550 ที่ได้มาโดยการสุ่มอย่างเจาะจง จากประชากรในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 และเลือกนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 จำนวน 20 คน ที่สมัครใจเข้าร่วมการทดลอง ในครั้งนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบประเมินการประหยัด ที่ผู้วิจัยได้ปรับและดัดแปลงขึ้น เพื่อใช้ในการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามกระบวนการทำค่านิยมให้ กระจ่าง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โดยประกอบด้วย คู่มือให้บริการ และกิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) ได้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกระบวนการทำค่านิยม ให้กระจ่าง มีประสิทธิภาพ มีความตรงตามโครงสร้างและตรงตามเนื้อหา โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้อง ของชุดเท่ากับ 0.86 ซึ่งประกอบด้วยคู่มือผู้ให้บริการ และแผนการจัดกิจกรรม 10 กิจกรรม และ (2) ผล การทดลอง โดยนำชุดกิจกรรมแนะแนวตามกระบวนการทำค่านิยมให้กระจ่างไปใช้กับนักเรียนกลุ่ม ทดลอง พบว่านักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนการประหยัดเพิ่มขึ้นภายหลังการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.104-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการประหยัดและการออม--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectกิจกรรมของนักเรียนth_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวตามกระบวนการทำค่านิยมให้กระจ่างเพื่อพัฒนาการประหยัดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอรุณวิทยา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeThe development of a guidance activity package based on value clarification process to enhance the saving habits of Mathayom Suksa V students of Arunvithaya School in Prachuap Khiri Khan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.104-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop a guidance activity package based on value clarification process to enhance the saving habits of Mathayom Suksa V students of Arunvithaya School in Prachuap Khiri Khan Province, and to study the effects of experimenting with the developed guidance activity package by comparing the saving habit scores of the experimental group students before and after using the guidance activity package to enhance the saving habits of the students. The sample for experimentation consisted of 20 Mathayom Suksa V students who volunteered to participate in the experiment. They were purposively selected from students of Mathayom Suksa 5/4 classroom at Arunvithaya School in Prachuap Khiri Khan Province in the 2007 academic year. The employed research instruments were (1) a saving habits evaluation form which was adapted by the researcher for pre-testing and post-testing; and (2) a guidance activity package based on value clarification process developed by the researcher composing of a handbook for service provider and activities. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings indicated that (1) the developed guidance activity package based on value clarification process had efficiency, construct validity, and content validity with the overall IOC of 0.86; it was composted of a handbook for service provider and 10 activities; and (2) after the guidance activity package was used with the experimental group students, it was found that the post-experiment saving habit scores of experimental group students were significantly higher than their pre-experiment counterparts at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons