Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10216
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยยงศ์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนิศ ภู่ศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญจันทร์ เพ็ญประภากร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T06:16:09Z-
dc.date.available2023-11-01T06:16:09Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10216-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันโรติดต่อ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) ศึกษา ความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาสุขศึกษา เรื่อง การ ป้องกันโรคติดต่อ และ(3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันโรคติดต่อ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสายธรรม จันทร์ ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 / 2550 จำนวน 47 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันโรคติดต่อจำนวน 3 หน่วย ประสบการณ์ คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 10 การวิเคราะห์การแพร่กระจายของโรคติดต่อ หน่วยประสบการณ์ ที่ 11 การประชาสัมพันธ์ประเภทของโรคติดต่อ และหน่วยประสบการณ์ที่ 12 การปฏิบัติการเพื่อการป้องกัน โรคติดต่อ (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์ แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็น ของนักเรียนที่มีต่อคุณภาพชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหา ประสิทธิภาพด้วยค่า E/ E, การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันโรคติดต่อ ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ 80.10/82.20 , 79.44/81.10 และ 79.47/82.20 ตามลำดับเป็น ไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการ เรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ มีความคิดเห็นต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ อยู่ในระดับ "เห็นด้วยมาก"th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.428-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสุขศึกษา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อ--ไทย--ราชบุรีth_TH
dc.titleชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาสุขศึกษา เรื่องการป้องกันโรคติดต่อสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeExperience-based instructional packages in health education on prevention of communicable diseases for Mathayom Suksa I students in Ratchaburi Educational Service Area 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.428-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to; (1) develop a set of experience-based instructional packages in Health Education on Prevention of Communicable Diseases for Matayom Suksa I students based on the 80/80 efficiency criterion;(2) study the learning progress of the students learning from the experience-based instructional packages; and (3) study the opinion of the students on the quality of experience-based instructional packages The research samples for efficiency testing consisted of 47 Matayom Suksa I students studying in the first semester of the 2007 academic year at Saithammachan School in Ratchaburi province, obtained by purposive sampling.Research tools comprised (1) three units of experience-based instructional packages in Health Education on Prevention of Communicable Diseases, namely, Unit 10: Analysis of Communicable Disease Spreading; Unit 11: Public Relations on Communicable Diseases; and Unit 12: Practices on Prevention of Communicable Diseases; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post- testing; and (3) a questionnaire asking the students' opinion on the quality of the experience-based instructional packages. Statistics used were E1/E2 index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings revealed that (1) the three units of experience-based instructional packages were efficient at 80.10 /82.20, 79.44/81.10; and 79.47/82.20 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) the learning progress of the students learning from the experience-based instructional packages was significantly increased at the .05 level; and (3) the opinion of the students on the quality of the experience-based instructional packages was at the "highly agreeable" levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons