Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพัตรา แซ่ตั้ง, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T06:39:30Z-
dc.date.available2023-11-01T06:39:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10219-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี และ (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ซื้อข้าวสาร บรรจุถุงในห้างสรรพสินค้า อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ตัวอย่าง โดยสุ่มตัวย่างแบบตามความสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ค่าเอฟ และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีแอลเอสดี ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี โดยส่วนใหญ่นิยมซื้อข้าวสารบรรจุถุงชนิดข้าวหอมมะลิ และเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี โอกาสในการซื้อคือ ซื้อเมื่อใกล้จะหมด ขนาดบรรจุถุง 5 กิโลกรัม ปริมาณ 2-3 ถุงต่อครั้ง ราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพคือ ราคา 91-110 บาท/ถุง ผู้ที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อคือ คนในครอบครัว สาเหตุที่ซื้อคือ คุณภาพดีเหมาะสมกับราคา แหล่งที่ซื้อคือ ห้างสรรพสินค้า ความสำคัญต่อการตัดสินใจซื้อคือ ข้าวสะอาด ไม่มีสารปนเปื้อน (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านเพศไม่แตกต่างกัน และ (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านช่องทางการจัดจำหน่ายไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าว--ไทย--ชลบุรี--การจัดซื้อth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงตราข้าว 1000 ดี ในห้างสรรพสินค้า อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting consumer's purchasing behavior on "Pun Dee" packed rice at department stores in Muang District, Chon Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: to study (1) the behavior in purchasing of Packed Pun Dee Rice; (2) individual factors influencing in purchasing of Packed Pun Dee Rice; and (3) marketing factors influencing in purchasing of Packed Pun Dee Rice. The population using in this survey was 400 consumers. The research instrument was a questionnaire conducted in the department stores in Muang District, Chon Buri Province. The statistical procedures for data analysis were percentage mean; standard deviation; t-test; and LSD comparison. The result of this study found that: (1) the consumers prefer purchasing of Packed Pun Dee Rice for Jasmine Rice: 5 kilo package, 2-3 bag once and 91-110 baht for a bag , family members making a decision, comparing its good qualities, hygiene and reasonable price and purchasing at the local department stores; (2) for individual factors: age, education, marriage status, occupation, and various income were efficiently considered at 0.05 while gender is insignificant; and (3) comparing performance distinguished by marketing factors making the decision indifferently but the customers decision depending on its quality, price and promotion campaign except the department stores location were differently significant at 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_133771.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons