Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10220
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทศนาท อาศนะ, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T06:48:21Z-
dc.date.available2023-11-01T06:48:21Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10220-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในงานของพนักงานสอบสวนสถานีตำรวจภูธร จังหวัดอุบลราชธานี (2) เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในงานของพนักงานสอบสวน สถานีตำรวจภูธร จังหวัดอุบลราชธานี จำแนกตามพื้นที่และปัจจัยส่วนบุคคลและ (3) ศึกษาแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจในงานของพนักงานสอบสวน สถานีตำรวจภูธร จังหวัดอุบลราชธานี การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประชากรทั้งหมดซึ่งได้แก่พนักงานสอบสวนทุกระดับที่สังกัดสถานีตำรวจภูธร จังหวัดอุบลราชธานี 36 สถานี จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความพึงพอใจในงานของพนักงานสอบสวนโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านค่าตอบแทน (2) ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพนักงานสอบสวนแยกตามพื้นที่พบว่า ผู้ที่มีเขตพื้นที่รับผิดชอบ 6-10 ตำบลมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในงานสูงกว่าพนักงานสอบสวนที่มีเขตพื้นที่รับผิดชอบ 1-5 ตำบล และมากกว่า 10 ตำบลในทุกด้าน เมื่อจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าพนักงานสอบสวนที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุดได้แก่ผู้ที่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป มีระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีรายได้ 20,001-30,000 บาท สถานภาพโสด อยู่ในตำแหน่งสอบสวนชำนาญการ และมีประสบการณ์ด้านการสอบสวน 3-5 ปี (3) แนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจในงานของพนักงานสอบสวนที่สำคัญได้แก่ ความรวดเร็วเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ การปรับปรุงค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับค่าครองชีพ ควรใช้อัตราเงินเดือนระบบเดียวกับฝ่ายตุลาการการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนกรณีพิเศษอย่างยุติธรรม สนับสนุนการอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง ส่งเสริมโครงการพนักงานสอบสวนดีเด่น จัดอัตรากำลังให้เหมาะสมกับงานและเขตพื้นที่รับผิดชอบ จัดให้มีการพักเวรสัปดาห์ละ 3 วัน ให้ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้นำในการปฏิบัติงาน พร้อมช่วยเหลือร่วมรับผิดชอบ ให้อิสระ รวมทั้งใช้เหตุผลและความยุติธรรมในการปกครองบังคับบัญชา และหากต้องการพัฒนางานให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความพึงพอใจ ควรคำนึงถึงกลุ่มอายุ และสถานภาพเป็นสำคัญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงาน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพนักงานสอบสวน--การทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความพึงพอใจในงานของพนักงานสอบสวนสังกัดสถานีตำรวจภูธร จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeJob satisfaction of inquiry officials at Local Police Stations, Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study level of job satisfaction of inquiry officials, Ubon Ratchathani local police stations, Ubon Ratchathani province (2) compare level of job satisfaction of inquiry officials, Ubon Ratchathani local police stations, classified by area and personal factors and (3) study appropriate ways to enhance job satisfaction of inquiry officials, Ubon Ratchathani local police stations, Ubon Ratchathani province. This was a study of whole population consisted of all levels of inquiry officials of 36 Ubon Ratchathani local police station, 120 officials totally. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results showed that (1) job satisfaction of inquiry officials was at high level, with the highest mean on relationships with peers, commanders and subordinates aspect, and the lowest mean on compensation aspect (2) when compared job satisfaction of the officials by areas; those with 6-10 responsible sub-districts had higher satisfaction than those responsible for 1-5, and more than 10 sub-districts, when compared by personal factors, it was found that the officials who had highest job satisfaction were those with age over 51, had bachelor’s degree or equivalent, received compensation of Baht 20,001-30,000, were single, posted as specialist inquiry officials, and had 3-5 years of job experience (3) major approaches to enhance job satisfaction were: arrangement of speedy benefits, compensation improvement according to standard of living, same rate of salary as that of judges, fair promotion, training support so to foster individual development, promotion of best inquiry officials program, organizing of man power responding to needs of the areas, shift breaks 3 times a week, commanders leading the operation with willingness to help and share responsibility, supporting officials’ autonomy, fair judgment in supervision, and finally, age and status of officials should be brought into consideration in all operational development circumstancesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_133788.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons