Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10231
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุมนทิพย์ บุญสมบัติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมลักษณ์ ดวงแก้ว-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T08:42:05Z-
dc.date.available2023-11-01T08:42:05Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10231-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ ดิน ป่าไม้ และแร่ธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ ดิน ป่าไม้ และแร่ธาตุ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นทางการเรียนของ นักเรียนที่มีต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ ดิน ป่าไม้ และแร่ธาตุ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนดรุณาราชบุรี เขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดราชบุรี เขต 1 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 29 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ ดิน ป่าไม้ และแร่ธาตุ จำนวน 3 หน่วยประสบการณ์ คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 13 การสำรวจทรัพยากรดิน หน่วยประสบการณ์ที่ 14 การอนุรักษ์ป่าไม้ด้วยการจัดทำของที่ระลึก จากกระดาษเหลือใช้ และหน่วยประสบการณ์ที่ 15 การจัดนิทรรศการแร่ธาตุ (2) แบบทดสอบก่อน และหลังเผชิญประสบการณ์แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อ ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E,/E, ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ 80.00/81.50, 80.83/82.50 และ 78.00/82.50 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความ คิดเห็นเกี่ยวกับชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์อยู่ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.95-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสังคมศึกษา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectศาสนา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectวัฒนธรรม--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อ--ไทย--ราชบุรีth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ ดิน ป่าไม้ และแร่ธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดราชบุรี เขต 1th_TH
dc.title.alternativeA development of experience-based instructional packages in the social studies, religion and culture learning area on natural resource : soil, forest and minerals for Prathom Suksa IV pupils in Ratchaburi Education Service Area 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.95-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were three-fold: (1) to develop a set of experience-based instructional packages in the Social Studies, Religion, and Culture Learning Area on Natural Resources: Soil, Forest, Minerals for Prathom Suksa IV pupils based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the progress of the pupils learning from the experience-based instructional packages in the Social Studies, Religion, and Culture Learning Area on Natural Resources: Soil, Forest, Minerals; and (3) to study the opinion of Prathom Suksa IV pupils on quality of experience- based instructional packages in the Social Studies, Religion, and Culture Learning Area on Natural Resources: Soil, Forest, Minerals. The research sample consisted of 29 Prathom Suksa IV pupils at Daruna Ratchaburi School in Ratchaburi Educational service Area office 1 studying the Course : Natural Resources : Soil, Forest, Minerals in the second semester of the academic year 2005 obtained by purposive sampling. Research tools comprised (1) three units of experience-based instructional packages on Natural Resources: Soil, Forest, Minerals, namely Unit 13: Soil Survey; Unit 14 : The Forest can be Conserved by Making Souvenurs from Recycled Paper ; Unit 15 : The Mineral Exhibition; (2) two paralled forms of achievement test for pretesting; and (3) a questionnaire asking the pupils' opinion on the quality of the experience-based instructional packages. Statistics used were the E1/E2 efficiency index, mean standard deviation and t-test. Research findings were that (1) the three units of experience-based instructional packages were efficient at 80.00/81.50, 80.83/82.50; and 78.00/82.50 respectively; thus meeting the set efficiency criterion off 80/80; (2) the learning achievement of the students learning from the experience-based instructional packages was significantly increased at the .05 level; and (3) The opinion of the student on quality of the experience-based instructional packages were at the "Highly Agreeable" levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons