Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์th_TH
dc.contributor.authorอมต ยอดคุณth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-02T02:23:36Z-
dc.date.available2023-11-02T02:23:36Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10235en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชา ซีเอ็นซี คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและการผลิต 1 เรื่องการเขียนเอ็นซีโปรแกรม สำหรับ นักศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่าน เครือข่าย และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพ คือ นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ชั้นปีที่ 3 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 39 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย จำนวน 3 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 10 พื้นฐานการเขียนเอ็นซีโปรแกรม หน่วยที่ 11 การเขียนโปรแกรมสำหรับเครื่องกัด และหน่วยที่ 12 การเขียนโปรแกรมสำหรับเครื่องกลึง (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E,/E การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วยมี ประสิทธิภาพ E,/E2 ดังนี้ คือ 76.16/75.67, 74.37/73.67 และ 75.42/74.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ กำหนด 75/75 (2) นักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายมีความก้าวหน้า ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการเรียน ด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย มีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.162en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอน--การออกแบบและการสร้างth_TH
dc.titleชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาซีเอ็นซี คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและการผลิต 1 เรื่อง การเขียนเอ็นซีโปรแกรมสำหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการth_TH
dc.title.alternativeComputer-based learning packages via network in CNC computer aided design and manufacturing I course on the topic of NC Programming for undergraduate students in Industrial Engineeringth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) develop computer-based learning packages via network in the CNC Computer Aided Design and Manufacturing I Course on the topic of NC Programming for undergraduate students in Industrial Engineering to meet the 75/75 efficiency criterion; (2) study the learning progress of students learning from the developed computer-based learning packages via network; and (3) study opinions of students toward the computer-based learning packages via network. purposively selected third year students studying in the Industrial Engineering Program of Ubon Ratchathani University in the first semester of the 2007 academic year. The employed research instruments comprised of (1) three units of computer- based learning packages via network, namely, Unit 10: Basic of NC programming; Unit 11: NC Programming for CNC Milling Machine; and Unit 12: NC Programming for CNC Lathe Machine; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire to assess student's opinions toward the computer-based learning packages via network. Statistics for data analysis were the E1/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the developed three units of computer- based learning packages via network were efficient at 76.16/75.67, 74.37/73.67, and 75.42/74.33 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 75/75; (2) students achieved learning progress as shown by their post-test scores begin Significantly increased from their pre-test counterparts at the .05 level; and (3) opinion of the students on the quality of the developed computer-based learning packages via network was at the "very agreeable" level. The research sample employed for efficiency testing consisted of 39en_US
dc.contributor.coadvisorเจริญ ชุมมวลth_TH
dc.contributor.coadvisorอภิรดี ประดิษฐสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons