Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10238
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาสนา ทวีกุลทรัพย์ | th_TH |
dc.contributor.author | นัยนา จูรัตน์ศักดิ์เจริญ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-02T02:45:49Z | - |
dc.date.available | 2023-11-02T02:45:49Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10238 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาการออกแบบระบบการเรียนการสอนที่ใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และนักเรียน จำนวน 240 คน ตอบแบบสอบถาม และผู้เชี่ยวชาญจำนวน 24 คน ตอบแบบสอบถามโดยใช้เทคนิคเดลฟาย เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยประกอบด้วย การออกแบบระบบการเรียนการสอนที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น แบบสอบถามความคิดเห็นและ ความต้องการของผู้บริหาร ครูผู้สอน และนักเรียน แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และแบบประเมิน รับรองต้นแบบชิ้นงานจากผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน มัธยฐาน และพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบระบบการเรียนการสอนที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการเรียนการสอน ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน ดังนี้ (1) ศึกษาสภาพและความต้องการของท้องถิ่น (2) กำหนดปรัชญา และปณิธาน (3) กำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์และเป้าหมาย (4) วิเคราะห์และกำหนดเนื้อหาสาระ (5) วิเคราะห์และกำหนด ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น (6) กำหนดรูปแบบและวิธีการเรียนที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (7) ดำเนินการสอน และ (8) ประเมินและติดตามผล ระบบการเรียนการสอนดังกล่าวได้รับการประเมินและรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ มีความเห็นว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับดีสามารถนำไปใช้ได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.172 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การสอน--การออกแบบ | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญาชาวบ้าน--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.title | การออกแบบการเรียนการสอนที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นวิชางานประดิษฐ์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | A proposed local wisdom-based instructional system design in the handicraft subject for Mathayom Suksa IV-VI students in Bangkok Educational Service Area | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.172 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to create a proposed local wisdom - based instructional system design. The sample employed in this research consisted of 240 administrators, teachers and students to respond to the questionnaire on the needs for the use of local wisdom in the instruction, and 24 experts to respond to the questionnaires employed in the Delphi Technique. The employed research instruments comprised the proposed local wisdom - based instructional system design; a questionnaires on opinions and needs of the administrators, teachers and students; a questionnaire on expert' s opinions; and an evaluation and certifying form for the prototype system by experts. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, median, and inter-quartile range. Research findings showed that the proposed local wisdom - based instructional system design consisted of 8 stages: (1) study the local conditions and needs; (2) determination of the philosophy and resolution; (3) determination of the policy, objectives and goals; (4) analysis and determination of contents; (5) analysis and identify sources of local wisdom; (6) determination of the local wisdom - based model and instructional methods; (7) undertaking the instructional; and (8) evaluation and follow - up of learning outcomes. The proposed local wisdom - based instructional system had been assessed and certified by the experts with the opinions that its quality was at the good level and it was feasible for implementation. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ชัชวาล ลางดี | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License