Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10258
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีชา วิหคโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัญจวน คำวชิรพิทักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพันธณีย์ วิหคโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิรัช อธิรัตนปัญญา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-02T04:12:39Z-
dc.date.available2023-11-02T04:12:39Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10258-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลที่จำเป็นในการแนะแนวการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์ (2) ศึกษาความเหมาะสมของข้อมูลและความเป็นไปได้ของรูปแบบการ แนะแนวการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์ (3) พัฒนารูปแบบการแนะแนวการศึกษา ต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์ และ (4) ศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อข้อมูลการใช้รูปแบบ การแนะแนวการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ข้อมูลที่จำเป็นในการแนะแนว การศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตามขั้นตอนของเทคนิคการวิจัยแบบเดลฟาย จำนวน 28 คน (2) ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อพิจารณาความเหมาะสมของข้อมูลและความเป็นไปได้ของรูปแบบการแนะแนวการศึกษาต่อใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์ โดยใช้เทคนิคความคิดเห็นสอดคล้องกันของผู้ทรงคุณวุฒิ (IOC) จำนวน 14 คน และ (3) ผู้ทดลองใช้รูปแบบการแนะแนวการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดยใช้คอมพิวเตอร์ จำนวน 23 คน โดยทั้งสามกลุ่มใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง การรวบรวมข้อมูลโดยใช้เทคนิค TONEX เพื่อสังเคราะห์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ แบบสอบถาม ความคิดเห็นผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับความเหมาะสมของข้อมูลและความเป็นไปได้ และแบบสอบถามความคิดเห็น ของผู้ทดลองใช้ที่มีต่อข้อมูลการใช้รูปแบบการแนะแนวการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้ คอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ข้อมูลที่จำเป็นในการแนะแนวการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประกอบด้วย บริการสนเทศ 3 ด้าน รวม 19 รายการ (2) ข้อมูลที่เหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการแนะแนว การศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์ รวม18 รายการ (3) ได้รูปแบบการแนะแนวการศึกษา ต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์ มีข้อมูลรวม 18 รายการ และ (4) ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์ รวม 10 รายการ คือ (ก) บริการ สนเทศด้านส่วนตัวและสังคม มี 1 รายการ ได้แก่ แบบสำรวจแบบแผนการเรียนรู้ (ข) บริการสนเทศด้านอาชีพ มี 2 รายการ ได้แก่ แบบทดสอบความพร้อมทางด้านอาชีพ และ ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประกอบอาชีพของแต่ละ สาขาวิชา (ค) บริการสนเทศด้านการศึกษา มี 7 รายการ ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับระบบและวิธีการศึกษาทางไกล หลักสูตร และโครงสร้างหลักสูตร คุณสมบัติของผู้สมัครในแต่ละหลักสูตร ค่าใช้จ่ายในการศึกษา การให้บริการต่างๆ ของ มหาวิทยาลัย ทุนการศึกษา/ ทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา และ ข้อมูลและประโยชน์จากการเรียนโครงการสัมฤทธิบัตร คำสำคัญ: รูปแบบ การแนะแนวการศึกษา การแนะแนวการศึกษาต่อ คอมพิวเตอร์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.418-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนวการศึกษาth_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการแนะแนวการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโดยใช้คอมพิวเตอร์th_TH
dc.title.alternativeThe developement of an educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.418-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) study required information for educational guidance via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University; (2) study the appropriateness of the information and the feasibility of an educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University; (3) develop the educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University; and (4) study opinions toward information on using the educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University. The research sample consisted of (1) a group of 28 experts to provide required information for educational guidance via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University based on the Delphi Technique; (2) a group of 14 experts to determine the appropriateness of the information and the feasibility of the educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University through the use of the IOC technique; and (3) a group of 23 persons who experimented with the educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University. All three groups were obtained by purposive selection. The TONEX Technique was employed for data collection by synthesizing data collecting instruments, namely, a questionnaire to obtain opinions from experts in the Delphi Technique, a questionnaire to obtain opinions from experts concerning the appropriateness of information and the feasibility of the model, and a questionnaire on opinions of the persons who experimented with the educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University. Research data were analyzed using the median, inter-quartile range, IOC, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings revealed that (1) the required and appropriate information for educational guidance via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University comprised 19 items classified into three categories of information service; (2) the appropriate information for feasible educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University comprised 18 items; (3) the information in the educational guidance model via computer on further study at Sukhothai Thammathirat Open University comprised 18 items; and (4) the useful information for decision making on further study at Sukhothai Thammathirat Open University comprised 10 items, namely, (a) personal and social information service consisting of one item, that is, a survey of the learning style; (b) career information service consisting of two items, namely, a career readiness test and information on guidelines for pursuing a career in each field of study; (c) educational information service consisting of seven items, namely, information on distance education study methods and system, programs and program structures, personal qualifications of applicants to study in each program, educational expenses, services provided by the university, educational scholarships/ educational loans, and information on and benefits from the study in achievement certificate projectsen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fultext.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons