Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10266
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปรีชา เนาว์เย็นผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสารคาม สยามประโคน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T02:39:58Z-
dc.date.available2023-11-03T02:39:58Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10266-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบ ศูนย์การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 เขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษา ความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การ เรียน และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับคุณภาพของชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับการ สอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพ คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน บ้านไร่โคกหนองปรือ ที่ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 32 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนศูนย์การเรียน กลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน จำนวน 3 หน่วย คือ หน่วยที่ 1 การเปรียบเทียบ จำนวนไม่เกินหนึ่งแสน หน่วยที่ 2 การเรียงลำดับจำนวนไม่เกินหนึ่งแสน และหน่วยที่ 3 โจทย์ปัญหาการ เปรียบเทียบจำนวนและการเรียงลำดับจำนวนไม่เกินหนึ่งแสน (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณภาพของชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอน แบบศูนย์การเรียน สถิติที่ใช้ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E,/E, การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียนที่ผลิตขึ้น ทั้ง 3 หน่วย มีประสิทธิภาพ 80.00/81.25 79.06/81.88 และ 78.28/81.25 ตามลำดับเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียนมีความก้าวหน้า ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ(3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อคุณภาพของชุดการ เรียนอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียนอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.186-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--บุรีรัมย์th_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of e-learning packages for learning centers in mathematics learning area on counting numbers less than one hundred thousand for Prathom Suksa III students in Buriram Educational Service Area 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.186-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) develop a set of the e-Learning packages for learning centers in Mathematics Learning Area on Counting Numbers Less than One Hundred Thousand for Prathom Suksa III students in Buriram Educational Service Area 3 based on the 80/80 efficiency criteria; 2) to study the progress of Prathom Suksa III students learning from the e-Learning packages for learning centers; and (3) to study the opinion of Prathom Suksa III Students on the quality of e-Learning packages for learning centers The research Samples employed for efficiency testing consisted of 32 Prathom Suksa III Students in Ban Rai Koke Nong Prue School Buriram Educational Services Area 3 who studied in the Second semester of the 2005 academic year.The sample was obtained by purposive sampling. Research tools comprised (1) Three units of e-Learning packages, namely, Unit 1 : Comparing Numbers Less Than One Hundred Thousand ; Unit 2 : Sequencing Numbers Less than One Hundred Thousand ; and unit 3: Word problems on Comparing and Sequencing Numbers Less than One Hundred Thousand ; (2) two parallel forms of an achievement test for presting and post-testing; and (3) a questionnaire asking the students' opinion on the quality of e-Learning packages. statistics used were the E,/ E2 index, t-test,mean, and standard derivation. Research findings showed that (1) three units of the e-learning packages were efficient at 80.00/81.25, 79.06/81.88,and 79.28/81.25 respectively, thus meeting the set efficiency criteria of 80/80 ; 2) the learning progress of the students learning from the e-Learning packages was significantly increased at the.05 level; and (3) the opinion of the students on the quality of the e-Learning packages was at the most highly agreeable levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons