Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10267
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิศาล มุกดารัศมี | th_TH |
dc.contributor.author | วิเชียร สกุลพราหมณ์, 2507- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-03T03:01:22Z | - |
dc.date.available | 2023-11-03T03:01:22Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10267 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่ององค์ความรู้ทางการพยาบาลกับความเจ็บป่วยทางการเมือง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาวะทางการเมืองที่ถูกพิจารณาว่าเป็นความเจ็บป่วยด้วยองค์ความรู้ของพยาบาล (2) องค์ความรู้ทางพยาบาลที่นามาใช้ในการศึกษาความเจ็บป่วยทางการเมือง การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ซึ่งพรรณนาด้วยการตีความเชิงเปรียบเทียบของความรู้ทางด้านการเมืองและความรู้ทางด้านการพยาบาลที่อาศัยการวิเคราะห์จากเอกสาร ตำรา สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องร่วมกับการวิเคราะห์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาวะทางการเมืองที่ถูกพิจารณาว่าเจ็บป่วยเมื่อใช้องค์ความรู้ทางการพยาบาลเกี่ยวกับวิวัฒนาการ แนวคิดทางการพยาบาล แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บป่วย ทำการศึกษาพบว่า มีความสัมพันธ์กันระหว่างการเมืองกับการพยาบาลเมื่อพิจารณาการพยาบาลเป็นเรื่องของการใช้อานาจอย่างหนึ่ง และเมื่อเปรียบการเมืองเป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมือนร่างกายมนุษย์ การเมืองที่ดีจึงต้องเป็นการเมืองที่เป็นสุขภาวะเหมือนกับมนุษย์ โดยที่การเมืองต้องสามารถปรับตัวหรือรักษาดุลยภาพของระบบการเมืองและภาวะแวดล้อมไว้ให้ได้ เมื่อระบบการเมืองขาดความสมดุล หรือไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ จนการดำเนินการทางการเมืองเกิดปัญหาอุปสรรคนั้น จึงพิจารณาได้ว่าการเมืองมีภาวะเจ็บป่วย (2) องค์ความรู้ทางพยาบาลที่นำมาใช้ในการศึกษาความเจ็บป่วยทางการเมืองในปรากฏการณ์จลาจลแบ่งสีนั้น อาศัยความรู้เรื่องกระบวนการพยาบาลในขั้นตอนการประเมิน และการวินิจฉัยการพยาบาล ทาการวิเคราะห์ พบว่า ด้านระบบการเมือง ด้านโครงสร้างและหน้าที่ของการเมือง เกิดความไม่สมดุล มีปัญหาอุปสรรค ไม่สามารถทำหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมจึงเปรียบเทียบได้ว่าการเมืองในช่วงดังกล่าวมีความเจ็บป่วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การเมืองกับการศึกษา | th_TH |
dc.subject | พยาบาล--แง่การเมือง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.subject | ความเจ็บป่วย--แง่การเมือง | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การศึกษาความเจ็บป่วยทางการเมืองในโลกทัศน์ของพยาบาล | th_TH |
dc.title.alternative | Nursing's body of knowledge and political illness | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) political conditions that are considered as “ illness ” based on the body of nursing knowledge; and (2) the body of nursing knowledge that can be applied to the study of political illness. This was a qualitative research describing comparative interpretations of political and nursing knowledge. The research was based on the analysis of related documents, research articles, textbooks, print media and electronic media as well as the analysis of actual events. The results showed that: (1) In consideration of nursing concepts of the evolution and nursing concepts of health, illness, it was concluded that there is a relationship between politics and nursing if one views nursing as a way of using power and one compares politics to a living organism like the human body. “Good” politics can be seen as “healthy” politics, like a healthy person. A healthy political system should be able to adjust itself and maintain its equilibrium within the surrounding environment. Whenever the political system is out of balance or is unable to adjust to the environment to the extent that it cannot function normally, then it can be considered a case of political ill or political pathology. (2) The body of nursing knowledge applied to the study of political pathology in the case of the Red Shirt vs. Yellow Shirt riots consisted of knowledge of nursing assessment and diagnosis. The analysis revealed that there were imbalances in the political system, the political structure, and political duties, which resulted in dysfunctional problems, so you could conclude that comparatively speaking, it was a situation of political illness. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
135757.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License