Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10268
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจียรนัย ทรงชัยกุลth_TH
dc.contributor.authorสุกัญญา เสมอมาศth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T03:04:49Z-
dc.date.available2023-11-03T03:04:49Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10268en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมายของนักเรียน วัยรุ่นที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย กับไม่ได้รับการฝึกด้วย ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย (2) เปรียบเทียบการเห็นคุณค่าของการควบคุม ตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมายของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการควบคุมตนเองเพื่อ บรรลุเป้าหมาย กับไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย และ (3) หาประเภทของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดจากการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการ ควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนวัยรุ่นชาย - หญิง อายุระหว่าง 13-15 ปี จากโรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บำรุง จังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2550 จำนวน 60 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง จำนวน 2 ห้องเรียน และสุ่ม นักเรียนแต่ละคนเข้าสู่กลุ่มวิจัย โดยจับสลากนักเรียนเข้ากลุ่ม 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง จำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 30 คน กลุ่มทดลองได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย จำนวน 10 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการฝึกด้วยกิจกรรมอื่น จำนวน 10 ครั้ง เช่นกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แบบวัคจิตลักษณะจำนวน 5 แบบวัด มีค่าความเที่ยง .67 - .89 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อ พัฒนาการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย จำนวน 10 กิจกรรม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ ผลการวิจัยพบประเด็นสำคัญ 3 ประเด็น ดังนี้ (1) นักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อพัฒนาการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย มีการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย และเห็นคุณค่าของ การควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงกว่านักเรียนวัยรุ่นที่ไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการ ควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลดังกล่าวปรากฏชัดเจนในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่น เพศชาย (2) การวิจัยยังได้พบว่านักเรียนที่มีเหตุผลทางจริยธรรมสูง ควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมาย และเห็นคุณค่า ของการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงกว่านักเรียนวัยรุ่นที่มีเหตุผลทางจริยธรรมต่ำ และ (3) นักเรียนวัยรุ่น เพศชายควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงกว่านักเรียนวัยรุ่นเพศหญิง ขณะที่นักเรียนวัยรุ่นเพศหญิงเห็นคุณค่าของ การควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงกว่านักเรียนวัยรุ่นเพศชายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.460en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวัยรุ่น--พฤติกรรมth_TH
dc.subjectการควบคุมตนเอง--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.titleผลการฝึกเพื่อพัฒนาการควบคุมตนเองเพื่อบรรลุเป้าหมายของนักเรียนวัยรุ่นที่มีจิตลักษณะแตกต่างกัน ด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวth_TH
dc.title.alternativeThe effect of training by a guidance activity package for development self control for goal accomplishment of adolescent students with different psychological characteristicsth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.460-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) compare self control for goal accomplishment of adolescent students who received training by a guidance activity package for developing self control for goal accomplishment with that of students who did not receive such a training; (2) compare the appreciation of the value of self control for goal accomplishment of adolescent students who received training by a guidance activity package for developing self control for goal accomplishment with that of students who did not receive such a training; and (3) identify the type of adolescent students who benefited most from the training with the guidance activity package for developing self control for goal accomplishment. The research sample consisted of 60 purposively selected adolescent students, age 13 - 15 years, studying in two intact classrooms of Tha Muang Ratbamrung School, Kanchanaburi province, in the 2007 academic year. One classroom comprising 30 students was randomly assigned as the experimental group; while the other classroom, also comprising 30 students, was randomly assigned as the control group. The employed research instruments consisted of (1) five measurement instruments on psychological traits, with reliability coefficients ranging from .67 - .89; and (2) a guidance activity package comprising 10 activities for developing self control for goal accomplishment. Statistics for data analysis were the basic descriptive statistics, t-test, analysis of variance, and a test for pair-wise multiple comparison. The study revealed three important findings; (1) student who were trained with the guidance activity package had significantly higher self control and significantly higher appreciation of the value of self control for goal accomplishment, at the .05 level, than those of students who did not receive such a training; such effects were especially clear for male adolescent students; (2) students with high moral reasoning scores achieved significantly higher self control for goal accomplishment than those of students with low moral reasoning scores; and (3) male adolescent students had significantly higher self control for goal accomplishment than that of female adolescent students; while female adolescent students had significantly higher appreciation of the value of self control for goal accomplishment than that of male adolescent studentsen_US
dc.contributor.coadvisorโกศล มีคุณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons