Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10282
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคลth_TH
dc.contributor.authorวิทวัชช์ แก้วเสน, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T06:41:04Z-
dc.date.available2023-11-03T06:41:04Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10282en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวทางการเคลื่อนไหวเรียกร้อง ทางการเมืองของกลุ่มผู้ชุมนุมไร้ที่ดินทำกินที่เข้ายึดครองพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันที่หมดสัมปทานอำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ (2) เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาของรัฐในการออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องของกลุ่มผู้ชุมนุมไร้ที่ดินทำกินที่เข้ายึดครองพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันที่หมดสัมปทาน อำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ การศึกษาครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการศึกษาจากเอกสารและการสัมภาษณ์ ประชากรแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ แกนนำกลุ่มผู้ชุมนุมไร้ที่ดินทำกิน เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ และเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุม รวมทั้งหมด 14 คน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาผลการศึกษา พบว่า (1) แนวทางการเคลื่อนไหวเรียกร้องทางการเมืองของกลุ่มผู้ชุมนุมไร้ที่ดินทำกินที่เข้ายึดครองพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันที่หมดสัมปทาน เพื่อกดดันให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาเรื่องพื้นที่ทำกิน มี 3 แนวทางหลัก ได้แก่ 1) การดึงมวลชนเพื่อให้ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องและสร้างเป้าหมายร่วมกันของกลุ่มผู้ชุมนุมที่มีอาชีพในการทำสวนปาล์มน้ำมันนั้นแต่ไม่มีพื้นที่ทำกินเป็นของ ตัวเอง ทำให้เกิดความเดือดร้อนและสร้างความไม่พอใจให้กับชาวสวนปาล์มน้ำมัน 2) การยื่นข้อเรียกร้องและการสร้างข้อต่อรองให้รัฐเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องของการจัดสรรพื้นที่ทำกินให้กับเกษตรกรผู้ไร้ที่ทำกินและเดือดร้อนอย่างทันที 3) การเข้ายึดครองพื้นที่สวนปาล์มของบริษัทเอกชนที่หมดสัมปทาน (2) แนวทางการแก้ไขปัญหา ได้แก่ 1) การใช้วิธีการเจรจาพูดคุยกันเพื่อยุติปัญหาและหาทางออกของปัญหา 2) การบังคับใช้กฎหมายและประเมินสถานการณ์โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ และกลุ่มผู้ชุมนุม 3) รัฐมีนโยบายและมาตรการในการให้ความช่วยเหลือ คือการนำข้อเรียกร้องของผู้ชุมนุมเข้าไปยังรัฐบาลเพื่อหามาตรการแก้ไขอีกครั้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectปาล์มน้ำมัน--ไทย--กระบี่th_TH
dc.subjectสัมปทานth_TH
dc.subjectที่ดินเพื่อการเกษตร--ไทย--กระบี่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleแนวทางการเคลื่อนไหวเรียกร้องทางการเมืองของกลุ่มผู้ชุมนุมไร้ที่ดินทำกินศึกษาเฉพาะกรณีพื้นที่สวนปาล์มหมดสัมปทาน อำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeMethod of political movement of landless group : a case study on expired concessions of palm oil plantations areas in Plypraya District Krabi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to study the political movement of landless group who occupy expired concessions of palm oil plantation areas in Plypraya District Krabi Province and (2) to investigate the government solutions on political movement of landless group who occupy expired concessions of palm oil plantation areas in Plypraya District Krabi Province. The qualitative approach was used to apply in this research. Data collection was gathered from literature review and interview. Sampling was divided into three groups including protester leaders of landless group, palm oil cultivators and government officers related to protest (14 interviewees in total). Then, the data were analyzed using a content analysis method and a descriptive analysis method. This research found that (1) the political movement of landless group who occupy expired concessions of palm oil plantation areas could be concluded in three ways. Firstly, a protest of palm oil cultivators who do not have their own land and lead to trouble and displeasure of palm oil cultivators. Secondly, a land allocation was requested to government for the cultivators who do not have their own land. Thirdly, palm oil plantation areas, where expired concessions of private company, were occupied. (2) The solutions of political movement consisted of three solutions. First solution was the negotiation of stakeholders. Second solution was law enforcement and situational assessment relating to safety of officers and protesters. Third solution was the reconsidered government policy on requirement of protesters.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153310.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons