Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10288
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณธรรม กาญจนสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorวราภรณ์ แซ่ล้อ, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T07:48:38Z-
dc.date.available2023-11-03T07:48:38Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10288en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทของกลุ่มการเมืองท้องถิ่นกับการพัฒนาทางการเมืองของอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) ปัญหาและอุปสรรคของการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของกลุ่ม การเมืองท้องถิ่นกับการพัฒนาทางการเมืองของอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการ ส่งเสริมบทบาทของกลุ่มการเมืองท้องถิ่นกับการพัฒนาทางการเมืองของอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง มีประชากรวิจัย 5 กลุ่มประกอบด้วย 1) กลุ่มข้าราชการประจำองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น 2) ข้าราชการทั่วไป 3) ผู้ใหญ่บ้าน 4) ผู้นำชุมชน 5) ประชาชนทั่วไป รวมทั้งสิ้น จำนวน 12 คน โดยใช้เครื่องมือวิจัย ได้แก่ ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มการเมืองท้องถิ่นที่มีอำนาจทางการเมืองในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีจำนวน 5 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) กลุ่มพัฒนาท่าข้าม 2) กลุ่มท่าข้ามก้าวหน้า 3) กลุ่มสหกรณ์ สุราษฎร์ธานี จ ากัด 4) กลุ่มชาวสวนยางตลาดกลางยางพารา 5) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทในการพัฒนาทางการเมืองในด้าน การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางการเมือง และด้านความสามารถของระบบการเมือง ได้แก่ 1) การกำหนดนโยบาย ส่งเสริมความเท่าเทียมกัน 2) การส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โดยกลุ่มพัฒนาท่าข้าม กลุ่มท่าข้ามก้าวหน้า และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็น ตรวจสอบการทำงาน หรือ ร้องเรียนได้อย่างเท่าเทียมกัน ด้านความสามารถของระบบการเมือง จะเห็นว่าการที่ประชาชนมีการตรวจสอบการ ทำงานเป็นการผลักดันให้หน่วยงานของรัฐบาลออกนโยบายมาเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ให้ประชาชนมีความกินดีอยู่ดีขึ้น ส่วนกลุ่มสหกรณ์สุราษฎร์ธานี จำกัด และกลุ่ม ชาวสวนยางตลาดกลางยางพารา มีบทบาททางการเมืองที่ไม่ชัดเจน เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ทำเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มเท่านั้น แต่ในด้านความสามารถของ ระบบการเมือง เมื่อสมาชิกขาดผลประโยชน์ ก็จะออกมารวมตัวกันเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลออกนโยบายมาเพื่อตอบสนองความต้องการ เช่น การเรียกร้องให้ยางพารามีราคาสูงขึ้น (2) ปัญหาและอุปสรรคของ กลุ่มพัฒนาท่าข้าม กลุ่มท่าข้ามก้าวหน้า และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ สมาชิกกลุ่มไม่สามารถสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนได้ เนื่องจากสมาชิกกลุ่มขาดความใส่ใจในการแก้ปัญหา ขาดความรู้ความเข้าใจในการทำงาน ยังมีระบบอุปถัมภ์เอื้อต่อพรรคพวกของตน ส่วนกลุ่มสหกรณ์สุราษฎร์ธานี จำกด และกลุ่มชาวสวนยางตลาดกลางยางพารายังไม่มีปัญหาและอุปสรรคของการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาททางการเมืองเท่าที่ควร เนื่องจากเป็นกลุ่มผลประโยชน์ที่ทำเพื่อสมาชิกกลุ่มของตนเท่านั้น (3) ข้อเสนอแนะ กลุ่มพัฒนาท่าข้าม กลุ่มท่าข้ามก้าวหน้า และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนให้มากขึ้น สร้างความรู้ความเข้าใจ รับฟัง ปัญหาและความต้องการของประชาชน สมาชิกควรมีอุดมการณ์ร่วมกัน เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการทำงานและไม่ควรมีระบบอุปถัมภ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาทางการเมือง--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleกลุ่มการเมืองท้องถิ่นกับการพัฒนาทางการเมืองของอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeLocal politics groups and political development of Phunphin District, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study roles of local political groups and the political development in Phunphin District, Surat Thani Province, 2) to investigate problems and obstacles of a performance of the roles of local political groups and political development in Phunphin District, Surat Thani Province and 3) to suggest a guideline for promoting roles of local political groups and political development in Phunphin District, Surat Thani Province The qualitative approach was applied in this research. The purposive sampling method was used and there were 5 samples consisting of 1) government officers groups in local administrative organizations, 2) general government officers groups, 3) village headman, 4) community leaders and 5) people (12 samples in total). The research tools included a structured interview and a descriptive analysis. This research found that 1) there were 5 local political groups with political power in Phunphin District, Surat Thani Province consisting of (1) PattanaTha Kham group, (2) Tha Kham Kaona group, (3) Surat Thani Cooperative Limited group, (4) Rubber Farmers of Central Rubber Market group and (5) Local Administrative Organization. The roles of local political groups in political development of a promotion of political equality aspect and a capability of a political system aspect included 1) an establishing policies to promote equality and 2) promoting of participation in community development. The Pattana Tha Kham group, Tha Kham Kaona group and Local Administrative Organization provided opportunity for public to share opinions, to recheck work and to make complaints equally. For the capability of a political system aspect, the performance monitoring by people could push government agencies to issue policies to meet requirements of the people for a better life. On the other hand, a political role of the Surat Thani Cooperative Limited group and Rubber Farmers of Central Rubber Market group was unclear because they made the benefit for their groups only. For the capability of a political system aspect, if members lack benefits, they will call on the government to issue a policy to meet the requirements such as calling for the best price of rubber. 2) With regards to problems and obstacles of Pattana Tha Kham group, Tha Kham Kaona group and Local Administrative Organization were unable to create public participation by group members due to lackof attention to solve problems and lack of knowledge and understanding in work as well as a patronage system to support their members. The political role of the Surat Thani Cooperative Limited group and Rubber Farmers of Central Rubber Market group had no problem and obstacle because they made the benefits for their groups only. 3) It is recommended that the Pattana Tha Kham group, Tha Kham Kaona group and Local Administrative Organization should create more public participation, provide knowledge and understanding and receive problems and requirements of the people. Members should have a common ideology and ability to work. Moreover, a patronage system should be avoided.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161029.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons