Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10294
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวลัญช์ โรจนพลth_TH
dc.contributor.authorวีระยุทธ ดำแก้ว, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T08:13:52Z-
dc.date.available2023-11-03T08:13:52Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10294en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทในด้านต่าง ๆ ของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาเศรษฐกิจที่สนับสนุนต่อการพัฒนาการเมือง (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินงานของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาเศรษฐกิจที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการเมือง (3) เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากคณะกรรมการหมู่บ้านในอำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้ง 9 ตำบล ตำบลละ 2 คน รวม 18 คน และกลุ่มบุคคลมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการหมู่บ้านในระดับตำบล จาก 5 ใน 9 ตำบล โดยแต่ละตำบลมีข้าราชการ จำนวน 3 คน ประชาชน จำนวน 1 คน รวม 20 คน และเจ้าหน้าที่ระดับอำเภออีก 5 คน รวมทั้งสิ้น 43 คน เครื่องมือวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของคณะกรรมการหมู่บ้าน ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ บทบาทด้านการส่งเสริมการดำเนินการตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง บทบาทด้านการพัฒนาและส่งเสริมการประกอบอาชีพและสนับสนุนการฝึกอาชีพชุมชน บทบาทด้านส่งเสริมการผลิตและการตลาด เพื่อเสริมสร้างรายได้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน บทบาทด้านการสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชน เครือข่ายอุตสาหกรรมและสถาบันศึกษาในการพัฒนาความรู้ และบทบาทด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวท้องถิ่น ล้วนแล้วแต่สนับสนุนงานการเมือง ทั้งการสร้างสังคมประชาธิปไตย หรือการสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมือง หรือการสร้างความยั่งยืนทางการเมือง หรือการสร้างพันธมิตรทางการเมือง หรือการเสริมบทบาททางการเมืองอื่น ๆ (2) ปัญหาอุปสรรค ปัญหาภายใน ได้แก่ การขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ ประชาชนไม่ค่อยให้ความร่วมมือ มีความเหลื่อมล้ำกับขาดการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และปัญหาภายนอก ได้แก่ การขาดการสนับสนุนจากนักการเมือง มีการแทรกแซงการปฏิบัติงานกับความไม่มั่นใจในสถานการณ์การเมืองปัจจุบัน (3) แนวทางแก้ไข ได้แก่ การสร้างความเข้มแข็งทางการเมืองในหมู่บ้านด้วยการประสานประโยชน์ที่ลงตัวทั้งภายในและภายนอกพื้นที่โดยใช้การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นเครื่องมือในการเชื่อมต่อกับกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาเศรษฐกิจ--แง่สังคมth_TH
dc.subjectการพัฒนาเศรษฐกิจ--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleบทบาทคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาเศรษฐกิจอำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeRole of village committee in economic development in Sichon District Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study roles of village committees in economic development which supporting political development, (2) to investigate problems and obstacles of village committees' performance in economic development that affect the political development and (3) to propose the guidelines for solving problems. The qualitative approach was applied in this research. The purposive samples were 18 village committees in Sichon District, Nakhon Si Thammarat Province (2 samples for each sub-districts), 20 people who directly related to the village committee's performance at the sub-district level from 5 out of 9 sub-districts (3 government officers and 1 people for each sub-districts) and 5 district officers. There were 43 purposive samples in total. The research instruments were interviews and descriptive data analysis. This research found that (1) the roles of the village committee consisted of 5 aspects, namely, role of promoting the implementation of the sufficiency economy, roles of career development and support for community occupational training, role of promoting production and marketing to increase the income for the people in the village, role of creating cooperation with the private sector, industry network and educational institutions to develop knowledge, and role of local tourism promotion. All roles supported political work and created of a democratic society or building political participation or creating political sustainability or building political alliances or promoting other political roles. (2) The internal problems were lacking of government support and public participation. There were disparities with the lack of perception of information. On the other hand, the external problem was lacking of support from politicians. There was an operational intervention with uncertainty in the current political situation. (3) The solution was to strengthen the village politics by coordination of benefits which suitable for both inside and outside the area, using economic development as a tool to connect with each interest group.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
164579.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons