Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10303
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติมา บูชา, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T03:14:31Z-
dc.date.available2023-11-06T03:14:31Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10303-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลต่อการบริหารงานของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำนักงาน ป.ป.ช.) มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการบริหารงานของสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัจจัยที่มีประสิทธิผลต่อการบริหารงานของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (3) ศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิผลในการบริหารงานของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ การศึกษาค้นคว้าอิสระเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยการจัดทำแบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชากรซึ่งเป็นข้าราชการของสำนักงาน ป.ป.ช. เฉพาะที่ปฏิบัติหน้าที่ในส่วนกลาง รวมจำนวน 256 คน สถิติที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ และทดสอบสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 26-35 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี ระยะเวลาในการทำงานในสำนักงานป.ป.ช. เป็นระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี ระดับตำแหน่งของการรับราชการประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ พบว่า (1) ปัจจัยต่าง ๆ ในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการดำเนินงานของสำนักงานป.ป.ช. ประกอบด้วย ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านวัฒนธรรม ปัจจัยด้านแผนยุทธศาสตร์ ปัจจัยด้านทรัพยากรบุคคล ปัจจัยด้านโครงสร้าง และปัจจัยด้านการควบคุมองค์การ โดยปัจจัยด้านภาวะผู้นำและด้านทรัพยากรบุคคลมีค่าความสัมพันธ์มากที่สุด และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าความสัมพันธ์น้อยที่สุด (2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่มี เพศ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงานกับสำนักงาน ป.ป.ช. สายงาน ระดับตำแหน่งของสายงานวิชาการ ต่างกัน มีความ คิดเห็นต่อปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการบริหารงานของสำนักงาน ป.ป.ช. แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานของงสำนักงาน ป.ป.ช. ประกอบด้วย ผู้บริหารจะต้องมีความรู้ความสามารถในการบริหารงานมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และพัฒนางานบุคลากรต้องมีความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในหน้าที่มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการทำงานเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)--การบริหารth_TH
dc.subjectการจัดการสำนักงานth_TH
dc.subjectประสิทธิผลองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลต่อการบริหารงานของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)th_TH
dc.title.alternativeRelation between organizational effectivenss and organizational effectiveness factors of the National Anti-Corruption Commission (ONACC)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study “The factors related to the effectiveness of the administration of the Office of the National Anti-Corruption Commission (ONACC)” are as follows; 1) to study the factors related to the effectiveness of the ONACC administration, 2) to compare the opinion of the ONACC government officers on the factors, and 3) to study the guidelines to enhance the effectiveness of the ONACC administration. This study used questionnaires survey for collecting data of 256 samples from ONACC government officers who has worked in the central office. The statistical methods to analyze the relations between the variables are percentage, means, standard deviation, T-test, and F-test, Pearson Product Moment Correlations. Most of the sample are female, aged between 26-35 years, graduated in bachelor's degree, work experience not exceed five years in ONACC, and technical officers, practitioner level. The results of this study are as follows; (1) the factors that influence organizational effectiveness in the operations of the ONACC are environmental factor, technological factor, leadership factor, cultural factor, strategic plan factor, human factors, and organization structure and control factors. The factors which are the highest value in relationship are leadership and human resources. The factor which is the lowest value in relationship is environmental factor. (2) The respondents who have different in gender, level of education, work experience in the ONACC, line of work, and position level in academic line of work have the different opinions on the factors related to the effectiveness in the administration of the ONACC with statistical significance at the level of 0.05. (3) The ways to increase efficiency in the management of the ONACC are the executive have to be the knowledge and ability to manage and creative thinking and development, Staff must have knowledge and expertise, have experience in duty, and understand in the purpose and goals to be more efficient at worken_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128644.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons