Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10306
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดชีวี มณีวรรณ, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T03:52:14Z-
dc.date.available2023-11-06T03:52:14Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10306-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ของผู้บริโภคในจังหวัดลำปาง (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ของผู้บริโภคในจังหวัดลำปาง และ (3) เสนอแนวทางในการพัฒนาตลาดเฟอร์นิเจอร์ไม้ของผู้จัดจำหน่ายในจังหวัดลำปาง การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้ที่เคยซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ในจังหวัดลำปาง โดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 20-30 ปี ระดับการศึกษาสูงสุดต่ำกว่ามัธยมปีที่ 6 หรือ ปวช. สถานภาพสมรส สมาชิกในครอบครัว 1-2 คน รายได้ต่ำกว่า 10,000 บาท และประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน โดย (1) กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ซื้อในงานเฟอร์นิเจอร์แฟร์ ซื้อเพราะมีความทนทาน ซื้อในโอกาสเพื่อเป็นของขวัญ ซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ราคา 1,001-5,000 บาท นิยมซื้อไม้สัก ซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้สำหรับห้องรับแขก และชำระด้วยเงินสด (2) ปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ของผู้บริโภคในจังหวัดลำปาง พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อยคือ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการจัดจำหน่าย และ (3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการควรมีการปรับปรุงด้านผลิตภัณฑ์เป็นอันดับแรก โดยการเลือกไม้ที่นำมาผลิตควรเป็นไม้สัก และเฟอร์นิเจอร์ในห้องนั่งเล่นควรมีการผลิตออกมาจำหน่ายมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครื่องเรือนth_TH
dc.subjectการเลือกซื้อสินค้าth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--ลำปางth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ของผู้บริโภคในจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeConsumer behaviors on wooden furniture purchasing decision in Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study: (1) the consumer behaviors on wooden furniture purchasing decision in Lampang Province; (2) factors influencing on the selection of wood purchasing in Lampang Province; and (3) guidelines for market development of wooden furniture vendors in Lampang Province. This study was survey research. The samples consists of 400 consumers residing in Lampang Province and had bought or used the wooden furniture. The instrument in the study was a questionnaire. Statistics used for the analysis included frequency, percentage, mean, T-test, and F-test. From the study, it was found that: most respondents were male, aged 20-30 years old, less than high school education, married, had family members of 1-2 persons, and had family income less than 10,000 baht and worked private employees. (1) Most respondents made decision to purchase wooden furniture from more to less as follows: bought at furniture fair followed by bought based on its durability, bought as a gifts, spent between 1,001-5,000 baht per piece, bought the teak wood furniture, purchased furniture for the living room and paid by cash; (2) the marketing mix factors influencing buying decision in descending order were: promotion, market, price and place; and (3) suggestions for wooden furniture vendors in Lampang Province was that the vendor should improve their products by selecting teak wood for production and increased more products for the living roomen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128650.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons