Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10312
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทรงศิริ จุมพล, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T04:14:34Z-
dc.date.available2023-11-06T04:14:34Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10312-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การจัดการความรู้ของบุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (2) ความสำเร็จของการจัดการความรู้ในสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านองค์กร กับการจัดการความรู้ของบุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 224 คน เก็บข้อมูลด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 186 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาความสัมพันธ์ โดยการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการความรู้ของบุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีลักษณะเป็นกระบวนการที่ประกอบด้วยการรวบรวมความรู้ที่กระจัดกระจายอยู่ที่ต่าง ๆ มารวมไว้ที่เดียวกัน การสร้างบรรยากาศให้คนคิดค้น เรียนรู้ สร้างความรู้ใหม่ ๆ ขึ้น การจัดระเบียบความรู้ในเอกสาร และทำสมุดรวบรวมรายชื่อผู้มีความรู้ในด้านต่าง ๆ และที่การสร้างช่องทางและเงื่อนไขให้บุคคลเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกันเพื่อนำไปใช้พัฒนางานของตนให้สัมฤทธิ์ ผล (2) ความสำเร็จของการจัดการความรู้ในสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค อยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยด้านองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการความรู้ ได้แก่ วัฒนธรรมองค์กร การศึกษา อบรม และพัฒนา โครงสร้างองค์กร กระบวนการจัดการความรู้ การสื่อสารความรู้ บุคลากรที่ใช้ความรู้ในการทำงาน โดยมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการจัดการความรู้ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการจัดการความรู้ของบุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคth_TH
dc.title.alternativeFactors related to personnel knowledge management in organization study the Office of the Consumer Protection Boarden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) knowledge management practice of officers in the Office of the Consumer Protection Board (2) the success of knowledge management of the Office of the Consumer Protection Board (3) the relations between organizational factors and knowledge management practice of officers in the Office of the Consumer Protection Board. Population consisted of 224 officers in the Office of the Consumer Protection Board. Simple sampling method was applied. Data was collected via questionnaire from 186 samples. Statistical tools employed were mean, standard deviation, and Chi-square. Research result revealed that (1) main methods employed in knowledge management practice were : gathering of dispersed knowledge, building the organizational climate that fostered the learning, and inventing of new knowledge, organizing knowledge from various documents, collecting lists of knowledge providers in several fields so to create channel of knowledge exchange which would lead to job development (2) the success of knowledge management of the Office of the Consumer Protection Board was in medium level (3) organizational factors related to knowledge management practice were organizational culture, education, training and development, organizational structure, knowledge management process, knowledge communication, officers, all of which had positive relations with knowledge management of the Office of the Consumer Protection Boarden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_129127.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons