Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10330
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำth_TH
dc.contributor.authorสุวรรณี ดาราไก่, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T08:08:31Z-
dc.date.available2023-11-06T08:08:31Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10330en_US
dc.description.abstractการวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยทางการเมืองด้านบทบาทของผู้นำชุมชนท้องถิ่นและ (2) ปัจจัยทางการเมืองด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่นำไปสู่ความสำเร็จในภารกิจการเตือนภัยของสำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 10 ในพื้นที่อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานีที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิจัยจากเอกสาร การสังเกตการณ์และการสัมภาษณ์ เชิงลึกประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) นักการเมืองท้องถิ่น (2) ข้าราชการที่ปฏิบัติงานด้านการเตือนภัยของสํานักงานทรัพยากรนํ้าภาค 10 (3) กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นําชุมชนท้องถิ่น (4) ประชาชนในพื้นที่อําเภอกาญจนดิษฐ์ (5) นักวิชาการ สื่อมวลชนและเจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง คือ กลุ่มนักการเมืองท้องถิ่น จํานวน 2 คน กลุ่มข้าราชการที่ปฏิบัติงานด้านการเตือนภัยของสํานักงานทรัพยากรน้ำภาค 10 จํานวน 3 คน กลุ่มกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นําชุมชนท้องถิ่น จํานวน 2 คน กลุ่มประชาชนในพื้นที่อําเภอกาญจนดิษฐ์ จํานวน 4 คน กลุ่มนักวิชาการ สื่อมวลชนและเจ้าหน้าที่องค์กร พัฒนาเอกชน จํานวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก แล้วนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยทางการเมืองด้านบทบาทของผู้นำชุมชนท้องถิ่นมีส่วนสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในภารกิจการเตือนภัยล่วงหน้าในทุกลำดับขั้นตอนของการทำงานด้านการเตือนภัยในพื้นที่ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ การประสานงาน ติดต่อ เชื่อมโยงการดำเนินกิจกรรมการเตือนภัย การดำรงตำแหน่งในกลุ่มกิจกรรม การกำหนดนโยบายแนวทางปฏิบัติ แนวทางการแก้ไขปัญหา การขจัดข้อขัดแย้งระหว่างผู้นำชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่เดียวกันการรวมกลุ่มของประชาชน การให้คำแนะนำ ข้อเสนอแนะและการเป็นตัวแทนประชาชนในการนำเสนอข้อเท็จจริงต่อสาธารณะ (2) ปัจจัยทางการเมืองด้านการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในพื้นที่ที่นำไปสู่ความสำเร็จในภารกิจการเตือนภัยล่วงหน้า พบว่า ประชาชนเห็นคุณค่าและ ประโยชน์ของสถานีเตือนภัยในพื้นที่ จึงให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินงานติดตั้งสถานีเตือน ภัยเป็นอย่างดี โดยเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ อันได้แก่ การร่วมประชุมในกิจกรรมด้านการเตือนภัยการปฏิบัติตามข้อเงื่อนไขแห่งกิจกรรมการร่วมทำประชาพิจารณ์กิจกรรมการเตือนภัยและการจัดตั้งเครือข่ายการเตือนภัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเตือนภัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัจจัยทางการเมืองที่นำไปสู่ความสำเร็จในภารกิจการเตือนภัยล่วงหน้าของสำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 10 ในพื้นที่อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativePolitical factors that led to success in the natural disaster early warning system of the Division 10 Office of Water Resources in Kanchanadit District, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the political factors that contributed to the success of the natural disaster early warning system of the Division 10 Office of Water Resources in Kanchanadit District, Surat Thani Province, in terms of (1) the role of local community leaders and (2) public participation. This was a qualitative research based on documentary research, observation and in-depth interviews. The study population was (1) local politicians; (2) government employees working for the Natural Disaster Early Warning System of the Division 10 Office of Water Resources; (3) Kumnan, village headmen and local community leaders; (4) citizens in Kanchanadit District; (5) academics, journalists and personnel of non-government organizations. The key informants, chosen through purposive sampling, consisted of 2 local politicians; 3 government employees working for the Natural Disaster Early Warning System of the Division 10 Office of Water Resources; 2 representative of the group of Kumnan, village headmen and local community leaders; 4 citizens living in Kanchanadit District; and 3 people representing the group of academics, journalists and personnel of non-government organizations. The research tool was an in-depth interview form. The data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) the role of local community leaders was a very important factor for success in every step of the early warning system, i.e. coordination, contacting, linking of warning activities, acting in leadership positions in group activities, setting operational policies and problem-solving policies, resolving conflicts among local community leaders, joining of citizens in groups, advising and consultation, and representing the people in the presentation of facts to the public. (2) The factor of public participation also contributed to the success of the early warning system. The people realized the value and usefulness of having early warning stations in their area, so they cooperated well and supported the installation of early warning stations. They participated in various activities, including attending warning system meetings, following the conditions set for public hearings on the early warning system, and establishing an early warning network.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148784.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons