Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธพร อิสรชัยth_TH
dc.contributor.authorสมบูรณ์ สุดทองมั่น, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T08:21:09Z-
dc.date.available2023-11-06T08:21:09Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10332en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ขั้นตอนและวิธีการในการสร้างสังคม ประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง (2)ปัจจัยสำคัญที่เอื้ออำนวยต่อกระบวนการสร้างสังคมประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง (3)ข้อเสนอแนะในกระบวนการสร้างสังคมประชาธิปไตยที่เข้มแข็งในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลวังโบสถ์ การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากประชากร 3 กลุ่มรวมทั้งหมด 25 คน กลุ่ม 1 ผู้นำท้องถิ่นฝ่ายบริหาร 4 คน กลุ่ม 2 สมาชิกสภาท้องถิ่น 10 คน และกลุ่ม 3 ตัวแทนภาคประชาชน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ และใช้การวิเคราะห์ เนื้อหาผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1) ขั้นตอนและวิธีการสร้างสังคมประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง คือการสร้างความสำนึกทางการเมือง เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น การส่งเสริมภาคประชาสังคม กิจกรรมทุกอย่างต้องเชื่อมโยงกับภาคประชาสังคมต้องมีพื้นที่ให้ภาคประชาสังคมทำกิจกรรม ยึดเจตนารมณ์ของประชาชนเป็นหลัก (2) ปัจจัยสำคัญที่เอื้ออำนวยต่อกระบวนการสร้างสังคมประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถื่นต้องจัดการศึกษาภาควิชาระบอบประชาธิปไตย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องบรรจุหลักสูตรไว้ในชั้นเรียนให้การศึกษาตั้งแต่วัย เด็กหรือจัดหลักสูตรฝึกอบรม และจะต้องสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองที่เอื้อต่อการปกครองด้วยสร้างวัฒนธรรมใหม่ร่วมกัน โดยกระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง (3) ข้อเสนอแนะ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือฝ่ายการเมืองระดับท้องถิ่น ควรส่งเสริมการเมืองภาคประชาชนสร้างความเป็นพลเมือง สนับสนุนการรวมกลุ่มขององค์กรทางสังคม ให้มีส่วนร่วมในกระบวนการทางสังคมตัวแทนภาคประชาชนควรตั้งศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองเพื่อให้เกิดวัฒนธรรมประชาธิปไตยในวิถีการเป็นประชาธิปไตยของชุมชนท้องถิ่น สร้างเครือข่ายภาคประชาสังคม รัฐควรส่งเสริมแต่ต้องไม่สั่งการหรือครอบงำทางความคิด ภาครัฐต้องมีนโยบายเด่นชัดในการส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นตามหลักการปกครองตนเองอย่างแท้จริง เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นในการปูพื้นฐานการสร้างประชาธิปไตยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectประชาธิปไตย--ไทย--เพชรบูรณ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleกระบวนการสร้างสังคมประชาธิปไตยที่เข้มแข็งในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลวังโบสถ์ อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeProcess of building a strong democratic society in the area of Wang Bost Tambol Administrative Organization, Nong Phai District, Phetchabun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the steps and methods for building a strong democratic society; (2) factors that facilitate the building of a strong democratic society; and (3) recommendations for the process of building a strong democratic society in the area of Wang Bot Tambol Administrative Organization. This was a qualitative research. The sample population of 25 was purposively selected from among 3 groups and consisted of (Group 1) 4 local leaders who were administrators, (Group 2) 10 members of the local council, and (Group 3) 11 representatives of local citizens. Data were gathered using an interview form and analyzed through content analysis. The results showed that (1) the steps for building a strong democracy were to build political conscience, to create opportunities for people to participate in local administration, to promote civil society, to link all activities to civil society, to provide space and venues for civil society groups to organize activities, and to adhere to the public voice as the main directive. (2) The facilitating factors are that the local administrative organization should organize education about democracy, the local administrative organization should insure that classes about democracy are included in the curricula of all local schools since early education or should offer training sessions, the local administrative organization should build up a political culture that facilitates democracy, and should use the political socialization process to build up a new political culture in the area. (3) Recommendations are that local government should promote people’s government and build up good citizenship, and should promote the joining of social groups and encourage the groups to participate in social processes. Representatives of the people should set up a center to develop and promote people’s politics to help create a democratic culture in local communities. They should build up a civic network. The central government should support these efforts but should not give orders or try to dominate the people ideologically. The state should have a clearly stated policy of promoting truly autonomous local administration, because it is a key factor that is essential for laying a good foundation for strong democracyen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153258.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons