Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์th_TH
dc.contributor.authorประเสริฐ พวงศรีเคนth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-09T02:47:32Z-
dc.date.available2023-11-09T02:47:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10340en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบประเมินการปฏิบัติงานของครูผู้สอน โรงเรียนบ้านน้ำสร้างหนองบะ จังหวัดมหาสารคาม ด้วยวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และ 2) ประเมินประสิทธิผลของการใช้ระเบียบวิธีวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ในการพัฒนาระบบประเมินการ ปฏิบัติงานของครู กลุ่มตัวอย่าง เป็นคณะครู โรงเรียนบ้านน้ำสร้างหนองบะ จังหวัดมหาสารคาม ปีการศึกษา 2548 - 2549 จำนวน 18 คน ได้มาโดยการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบประเมินการปฏิบัติงานครูผู้สอน แบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดย การ วิเคราะห์เนื้อหา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ระบบประเมินการปฏิบัติงานของครูมีลักษณะสำคัญดังนี้ (1) มี ขั้นตอนการดำเนินงาน 6 ขั้นตอน ได้แก่ สร้างความตระหนัก กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและแนว ทางการประเมิน กำหนดเอกสารหลักฐานสนับสนุนการปฏิบัติงาน ดำเนินการพัฒนางานตามระบบ ประเมิน ประเมินความก้าวหน้าและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และ ประเมินสรุปเพื่อตัดสินผลการ ปฏิบัติงานและรายงานผล (2) จำแนกองค์ประกอบการประเมินเป็น 3 องค์ประกอบ คือ การปฏิบัติตน มี 4 มาตรฐาน 24 ตัวชี้วัด การปฏิบัติงาน มี 9 มาตรฐาน 31 ตัวชี้วัด และ การพัฒนาผู้เรียน มี 6 มาตรฐาน 20 ตัวชี้วัด (3) กำหนดเงื่อนไขการประเมิน ให้ประเมินปีละ 2 ครั้ง โดยประเมินใน องค์ประกอบที่ 1 2 และ 3 เรียงตามลำดับ และ 2) ผลการใช้ระเบียบวิธีวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ในการพัฒนาระบบประเมินการปฏิบัติงานของครู พบว่า (1) ระบบที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสม มีความ เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และมีประสิทธิภาพ ในระดับมาก (2) คณะครูที่มีบทบาทร่วมในการวิจัยและ พัฒนา ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนา มีความกระตือรือร้น พึงพอใจในระบบประเมิน และ เกิดการ เรียนรู้ ในระดับมาก คณะกรรมการสถานศึกษา มีความพึงพอใจต่อระบบประเมินในระดับมาก (3) คณะครูมีความเห็นว่า ระบบประเมินมีความเหมาะสม สมควรนำมาใช้อย่างต่อเนื่อง และควร ปรับปรุงเป้าหมายให้ท้าทายยิ่งขึ้น เพื่อให้ระบบประเมินมีความสมบูรณ์และมีผลต่อการพัฒนางานมาก ยิ่งขึ้นเป็นลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.52en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectครู--การประเมิน.--ไทย--มหาสารคามth_TH
dc.subjectการประเมินผลงานth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบประเมินการปฏิบัติงานของครูผู้สอนโรงเรียนบ้านน้ำสร้างหนองบะ จังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeThe development of a performance appraisal system for teacher of Ban Natmsarngnongba School in Maha Sarakham Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.52-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) develop a performance appraisal system for teachers of Ban Narmsarngnongba School in Maha Sarakham Province with the use of participatory action research; and (2) assess the efficiency of using participatory action research in development of the performance appraisal system for teachers. School, Maha Sarakham Province in the 2005 - 2006 academic years, obtained by purposive sampling. The research data were obtained via the use of a teacher performance appraisal form, a questionnaire, and focused group discussion. The research data were analyzed with the use of content analysis, percentage, mean, and standard deviation. The research findings were as follows: 1. The teacher performance appraisal system had the following main characteristics: (1) there were six steps of operation, namely, creating awareness, determining work performance standards and appraisal guidelines, determining supporting documents and evidences for work performance, developing appraisal work based on the appraisal system, formative evaluation and improvement on a continuous basis, and summative evaluation for decision making and reporting; (2) the performance appraisal was classified into three components, namely, self conduct, with four standards and 24 indicators; work performance, with nine standards and 31 indicators; and learner development, with six standards and 20 indicators; and (3) the determined appraisal conditions were that the appraisal was to be undertaken twice a year, with the appraisal on the first, second, and third components respectively. 2. Results of using participatory action research in development of the performance appraisal system for teachers showed that (1) the developed system was appropriate, feasible for implementation, and efficient at the high level; (2) the participating teachers participated in the development with enthusiasm, satisfaction with the appraisal system, and acquiring learning at the high level; while the school board members were satisfied with the appraisal system at the high level; and teachers had opinions that the developed system was appropriate, should be implemented continuously, and the goals should be improved to be more challenging in order to enable the appraisal system to be complete and increasingly more effective for work development.en_US
dc.contributor.coadvisorบัณฑิต แท่นพิทักษ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons