Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนัยนา ทศพร, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-09T03:07:05Z-
dc.date.available2023-11-09T03:07:05Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10342-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับความสำเร็จในการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานต่อการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและความคิดเห็นเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นพนักงานการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จำนวน 185 คน จากประชากรจำนวน 346 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำเร็จในการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการเข้าถึง ความรู้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงสุด ในขณะที่ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ำสุด (2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานต่อการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า พนักงานที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และตำแหน่งงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยไม่แตกต่างกัน ขณะที่พนักงานที่มีระดับงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ความคิดเห็นต่อปัญหาในการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยปัญหาสำคัญได้แก่การสร้างและแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะความไม่เป็นปัจจุบันของระบบสารสนเทศของหน่วยงาน และการขาดความสนับสนุนให้พนักงานมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการความรู้ ในส่วนของการเพิ่มประสิทธิผลการจัดการความรู้ ควรให้ความสำคัญกับการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้ โดยเฉพาะการสร้างแรงจูงใจแก่พนักงานในการเพิ่มเติมและแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleความสำเร็จในการจัดการความรู้ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe success of knowledge management of Industrial Estate Authority of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the employee’s opinions on the success of knowledge management of the Industrial Estate Authority of Thailand (2) compare the employee’s opinions on knowledge management of Industrial Estate Authority of Thailand according to personal factors (3) study the problems and opinions to improve the effectiveness of knowledge management of Industrial Estate Authority of Thailand. Samples used in this study, totally 185, were employees from Industrial Estate Authority of Thailand, obtained from total of population of 346. Proportional and accidental sampling method were applied. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test and One-way ANOVA Analysis with Scheffe comparison test method. Research result revealed that : (1) opinions on the success of knowledge management of Industrial Estate Authority of Thailand in general were at high level, with the highest mean on knowledge access and the lowest mean on knowledge sharing (2) when compared employees’ opinions by personal factors, no differences were found among opinions of employees with differences in gender, age, education level and jobs position, while employees with different job levels had different opinions at 0.05 level of statistical significance (3) opinions on problems of the knowledge management of Industrial Estate Authority of Thailand in general was at high level, with major problem on knowledge creation and acquisition, particularly the out of date of sections’ information and lack of support provided to employees to participate in knowledge management of the organization, as for recommendations to improve knowledge management effectiveness, the organization should put the emphasis on knowledge sharing, especially should consider appropriate ways to motivate the employees to increase their knowledge and foster their knowledge sharing with each otheren_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_130369.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons