Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10349
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริวรรณ ศรีพหล | th_TH |
dc.contributor.author | ระพีพรรณ ดวงใจ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-09T03:32:29Z | - |
dc.date.available | 2023-11-09T03:32:29Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10349 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้วิธีการสอนแบบ อริยสัจสี่ (2) เปรียบเทียบทักษะการคิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก ระหว่างก่อนเรียนและหลัง เรียน โดยใช้วิธีการสอนแบบอริยสัจสี่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 โรงเรียนพิมายวิทยา จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 50 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบ กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบอริยสัจสี่ จำนวน 7 แผน รวม 14 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบทดสอบวัดด้วยวิธีสอนทักษะ การคิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยวิธีการสอนแบบ อริยสัจสี่ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ทักษะการคิดแบบ เห็นคุณโทษและทางออกหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.382 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การสอนแบบอริยสัจสี่ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาขั้นมัธยม--ไทย--นครราชสีมา | th_TH |
dc.subject | การแก้ปัญหา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th_TH |
dc.title | ผลการสอนแบบอริยสัจสี่ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิดแบบเห็นคุณโทษและทางออกเรื่องหลักธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพิมายวิทยา จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of the four noble truths teaching method on learning achievement and the thinking skill of immoral consequence and how to escape of Mathayom Suksa III students at Phimai Wittaya School in Nakorn Ratchasima Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.382 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (1) compare learning achievements of students before and after learning the topic of Dhamma Principles for Sufficiency Economy Development under the Four Noble Truths teaching method; and (2) compare the thinking skills on realization of beneficial and harmful consequences and solutions of students before and after learning the topic under the Four Noble Truths teaching method. The research sample consisted of 50 Mathayom Suksa III students studying in the first semester of the 2007 academic year at Phimai Wittaya School in Nakhon Ratchasima Province, obtained by cluster sampling. The research instruments consisted of seven lesson plans under the Four Noble Truths teaching method with the total instructional time of 14 hours; an achievement test, and a test of thinking skills on realization of beneficial and harmful consequences and solutions. The t-test was employed for data analysis. Research finding showed that (1) students' learning achievement after learning under the Four Noble Truths teaching method was significantly higher than their pre-learning counterpart at the .05 level; and (2) students' post-learning thinking skills on realization of beneficial and harmful consequences and solutions were significantly higher than their pre-learning counterparts at the .05 level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กัญจนา ลินทรัตนศิริกุล | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | อมรา รอดดารา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License