Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1034
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สรายุทธ ยหะกร | th_TH |
dc.contributor.author | วิสุทธิ์ พรทวีวัฒน์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-26T05:50:57Z | - |
dc.date.available | 2022-08-26T05:50:57Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1034 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความเป็นมาของวิทยุชุมชน (2) บทบาทของ วิทยุชุมชนในการส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรมไทยในเขตอำเภอเมืองจังหวัดกาญจนบุรี (3) บทบาทพึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ของวิทยุชุมชนในเขตอำเภอเมืองจังหวัดกาญจนบุรีในการส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรมไทย โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้บริหารวิทยุชุมชน 5 คน นักจัดรายการวิทยุชุมชน 10 คนผู้นำชุมชน 5 คน รวม 20 คม และเป็นการวิเคราะห์เนี้อหารายการวิทยุที่ออกอากาศโดยสถานีวิทยุชุมชนในเขตจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งมีกรอบเนี้อหาทางวัฒนธรรมทั้งหมด 5 ด้าน คือ ด้านการดำรงชีพ ด้านภาษาและวรรณกรรม ด้านศาสนา และจริยธรรม ด้านศิลปะและการละเล่น ด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ผลการวิจัยพบว่า (1) วิทยุชุมชนได้ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2491 โดยสถานี K.PFA ในเมืองเบร์กเลล์รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศไทยวิทยุชุมชนเป็นผล ที่เกิดขึ้นตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 (2) บทบาทของวิทยุชุมชน ในการส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรม ได้แก่ บทบาทในการให้ความรู้ รักษาวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น ร่วมแก้ปัญหาของชุมชน และการมีส่วนร่วมในทางการเมือง (3) บทบาทพึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ของวิทยุชุมชน พบว่าส่วนใหญ่เป็นบทบาทที่พึงประสงค์ ส่วนบทบาทไม่พึงประสงค์มี 4 ด้าน คือ 1. ด้านภาษาและวรรณกรรม ที่มีการใช้ภาษาที่ไม่ถูกต้อง 2. ด้านศาสนาและจริยธรรม มีการรับค่าตอบแทนจากการเปีดสปอตโฆษณา 3. ศิลปะและการละเล่น มีผู้สนับสนุนรายการที่เป็นเจ้าของธุรกิจเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 4. ด้านสังคมเศรษฐกิจและการเมือง มีการเสนอ ข่าวที่ทำให้เกิดการตื่นตระหนกกับผู้ฟังโดยไม่ตรวจสอบให้ชัดเจน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วิทยุชุมชน--ไทย--กาญจนบุรี | th_TH |
dc.subject | วิทยุเพื่อบริการสาธารณะ--ไทย--กาญจนบุรี | th_TH |
dc.title | บทบาทของวิทยุชุมชนในการส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรมไทย : กรณีศึกษาวิทยุชุมชน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Role of community radio and Thai cultural inheritance : a case study of community radio in Muang Kanchanaburi District, Kanchanaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The present research aimed to study (1) the history of community radio; (2) the role of community radio in the promotion and transmission of Thai culture in Muang Kanchanaburi district and (3) the role of community radio in Muang Kanchanaburi district in promoting and transmitting Thai culture. A qualitative research method was employed with a group of 25 participants comprised of 5 community radio administrators, 10 disk jockeys, and 10 community heads. The contents of radio programmes were analysed into five cultural frameworks, namely daily life; language and literature; religion and morality; activity and art; and society, economy and politics. The research results showed that (1) community radio was first established in 2491 B.E. by KPFA station in Berkeley, California, the United States of America. In Thailand, it was set up in accordance with section 40 in the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E.2540. (2) The main role of community radio was to promote and transmit Thai culture with the aims of education, local community preservation, problem solving in the community, and political participation. (3) Regarding desirable and undesirable effects, it was found that on the whole the impact was desirable, but there were also undesirable effects: (1) in language and literature, language usage was sometimes incorrect; (2) in the religious and moral area, community radio stations received income from spot advertising; (3) in art and activity, community radio was supported by alcohol companies; and (4) in the economic, social and political area, unverified community radio news reports caused a panic among listeners. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุดจิต เจนนพกาญจน์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | อนุชา ม่วงใหญ่ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (14).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License