Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัณฉัตร หมอยาดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทรงกลด จารุสมบัติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญพรรค อวบอ้วน, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T06:00:35Z-
dc.date.available2022-08-26T06:00:35Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1036-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติความเป็นมาของการทอเสื่อกกที่ บ้านแพง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม (2) แนวทางในการอนุรักษ์และแนวทางการ พัฒนาการทอเสื่อกกที่บ้านแพง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 3 กลุ่มได้แก่ ผู้รู้ 15 คน ผู้ปฏิบัติ 20 คน และประชาชนที่ไปซื้อเสื่อกกที่ศูนย์ OTOP ตำบลแพง 30 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง แบบสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มี ส่วนร่วม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ประวัติความเป็นมาการทอเสื่อกกที่บ้านแพง เป็นการสืบทอดมาจาก ่ บรรพบุรุษกว่า 100 ปี แล้ว โดยเริ่มแรกเป็นการทอเสื่อจากต้นปรือทอเพื่อใช้สอยและแลกเปลี่ยน สิ่งของเครื่องใช้ นปี 2521 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอโกสุมพิสัยได้สนับสนุนในการส่งตัวแทน กลุ่มแม่บ้านสตรีทอเสื่อไปศึกษา ดูงานที่อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี และได้นำความรู้กลับมา เผยแพร่ให้กับชาวบ้านแพง โดยได้เปลี่ยนการทอเสื่อจากต้นปรือมาเป็นเสื่อกก ต่อมาในปี 2544 กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ส่งเจ้าหน้าที่มาสอนการมัดหมี่เสื่อกกหลายลาย ได้แก่ ลายหมี่ ลายเปีย ลาย กระจับ ลายรูปภาพและลายตัวหนังสือทำให้เสื่อกกมีลวดลายหลากหลาย สีสันสวยงาม เป็นสินค้า OTOP 5 ดาว (2) แนวทางในการอนุรักษ์การทอเสื่อบ้านแพงควรมีรูปแบบการอนุรักษ์โดยควรตั้ง กลุ่มแม่บ้านทอเสื่อกก การสร้างศูนย์ OTOP การจัดนิทรรศการเคลื่อนที่และการจัดทำหลักสูตร ท้องถิ่นการทอเสื่อกกให้กับนักเรียนระดับประถมศึกษาปี ที่ 4-6 ของโรงเรียนบ้านแพงหนองเหนือ ส่วนแนวทางในการพัฒนาควรพัฒนาทางด้านคุณภาพพันธุ์กก คุณภาพเส้นกก อุปกรณ์ในการทอ เสื่อกก ลายเสื่อ รูปแบบของผลิตภัณฑ์ การบรรจุหีบห่อ และแหล่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเสื่อกก--การอนุรักษ์และฟื้นฟูth_TH
dc.titleการอนุรักษ์และพัฒนาการทอเสื่่อกก : กรณีศึกษาบ้านแพง อำเภอโกสุมพิสัยจังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeConservation and development of traditional reed mat weaving : a case study of Baan Paeng Village in the Kosum Phisai District of Maha Sarakham Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the history of traditional reed mat weaving in Baan Paeng Village in the Kosum Phisai District of Maha Sarakham Province; and (2) ways to conserve and develop traditional reed mat weaving in the village. This was a qualitative study. The sample consisted of 15 key informants, 20 weavers and 30 people who came to purchase mats at the One Tambol, One Product (OTOP) center in Paeng District. Data were collected using in-depth structured interview forms, a participatory observation form, and a non-participatory observation form. Data were analyzed using descriptive analysis. The results showed that (1) the art of reed mat weaving has been passed down in the village for more than 100 years. It started with villagers weaving stalks of cat tail reeds (Typha angustifolia) to make mats for use at home or to trade. In 1978, the Kosum Phisai community development office sent some representatives of local weavers to study mat weaving in the Laem Sing District of Chanthaburi Province. They switched from using cat tail reeds to using sedges in the genus Carex as their weaving material. In 2001, the government’s Cooperatives Promotion Department sent teachers to the village to teach them to weave special patterns into their mats, such as traditional designs used for silk weaving like Mee design, Bia design, Krajab design, as well as letters and images. This helped the weavers create a wide variety of colorful designs and their products earned five-star status in the OTOP program. (2) To conserve this art, a weavers group should be organized, an OTOP center should be built, products should be shown at mobile exhibitions, and a curriculum should be developed to teach weaving to 4th- to 6th - graders at the local schools. The product should be developed by improving the seeds and fiber of the sedge plant, developing better weaving tools, developing new kinds of woven products and designs, improving packaging and expanding sales channelsen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (15).pdfเอกสารฉบับเต็ม22.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons