Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10427
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์th_TH
dc.contributor.authorพัฒยา อาสาสร้อย, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-13T08:02:30Z-
dc.date.available2023-11-13T08:02:30Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10427en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยสาเหตุการจูงใจประชาชนในการเข้าร่วมอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ ระหว่าง พ.ศ. 2508-2519 : กรณีศึกษา อดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ในเขตตำบลปทุมวาปี อำเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร (2) ยุทธวิธีการจูงใจประชาชนในการเข้าร่วมอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ ระหว่าง พ.ศ. 2508-2519 : กรณีศึกษา อดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่ง การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง จำนวน 20 คน ได้แก่ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญบ้านบ่อแกใหญ่ จำนวน 8 คน บ้านบ่อแกน้อย จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์คือ แบบสัมภาษณ์เจาะลึกโดยการวิเคราะห์เนื้อหาแบบพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า (1) การที่ชนชั้นปกครอง แก้ไขปัญหาด้วยวิธีการใช้มาตรการความรุนแรงกับชนชั้นที่ถูกปกครองนั้นไม่ได้ทำให้เกิดประโยชน์กับส่วนรวมประเทศชาติแต่อย่างใด กลับทำให้เกิดความแตกแยกของคนในชาติเพิ่มมากขึ้น เกิดการต่อต้านอำนาจรัฐ และคอยหาช่องทางเพื่อแก้แค้น ดังนั้นเมื่อมีผู้ปฏิบัติงานของพรรคคอมมิวนิสต์มาเคลื่อนไหวปลุกระดมชักชวน จึงทำให้ประชาชนตัดสินใจร่วมมือกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ประกอบกับการเป็นพื้นที่ห่างไกลจากศูนย์กลางอำนาจรัฐ การดูแลของภาครัฐที่ยังไม่ครอบคลุมทั่วถึง ทำให้ผู้ปฏิบัติงานของพรรคคอมมิวนิสต์มีโอกาสเข้าใกล้ชิดช่วยเหลือประชาชนมากกว่าภาครัฐ จึงทำให้ประชาชนถูกโน้มน้าวชักจูงได้ง่าย (2) การกล่าวโฆษณาถึงจุดบกพร่องของผู้นำประเทศที่บริหารประเทศผิดพลาด ขาดวิสัยทัศน์ ขาดความชอบธรรมในการปกครองบ้านเมือง การนำปัญหาต่าง ๆที่เกิดขึ้นในสังคมไทย เช่น ปัญหาเรื่องความทุกข์ยาก ไม่ได้รับการกินดีอยู่ดีของประชาชน มาสร้างเป็นแรงจูงใจให้เข้าร่วมอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ รวมทั้งการอาศัยหลักจิตวิทยา โฆษณาชวนเชื่อด้วยยุทธวิธีต่าง ๆ การใช้ความสัมพันธ์ทางสายเลือดเครือญาติ ดึงญาติ และคนรู้จักให้เป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคอมมิวนิสต์--ไทยth_TH
dc.subjectลัทธิคอมมิวนิสต์--ไทย--ประวัติ.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัจจัยจูงใจประชาชนในการเข้าร่วมอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ ระหว่าง พ.ศ. 2508-2519 : กรณีศึกษา อดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ในเขตตำบลปทุมวาปี อำเภอส่องดาว จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeMotivational factors of participating in a Communist Ideology between B.E. 2508 to B.E. 2519: a case study on the former member of Communist Party of Thailand (CPT) in Pathum Wapi Subdistrict, Song Dao District, Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to study motivational factors of participating in a communist ideology between B.E. 2508 to B.E. 2519: A case study on the former members of Communist Party of Thailand (CPT) in Pathum Wapi Subdistrict, Song Dao District, Sakon Nakhon Province and (2) to investigate a strategy to motivate people to participate in a communist ideology between B.E. 2508 to B.E. 2519: A case study on the former members of Communist Party of Thailand (CPT) in Pathum Wapi Subdistrict, Song Dao District, Sakon Nakhon Province. The qualitative approach with an in-depth interview was applied in this research. Purposive samplings consisted of informants of Ban Bo Kae Yai (8 interviewees) and informants of Ban Bo Kae Noi (12 interviewees). Then, the data were analyzed using a content analysis method and a descriptive analysis method. This research found that (1) the ruling class resolved the problem with violence mitigation to subject class resulting in no benefits to the public. On the other hand, this problem caused conflict in the country and resistance in government's power. The members of Communist Party of Thailand supported the communist movement to people especially in the people in the remote area. Then, members of Communist Party of Thailand had more opportunity to help people in the remote area than the government had them. (2) The members of communist party investigated and advertised the weak points of leader in public sector management including lacking of vision, lacking of legitimacy in political and lacking of human well-being. These problems created the motivation to the affected people to participate in a communist ideology. Moreover, the psychology techniques used to invite people and their relative to participate in members of communist party.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158632.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons