Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10429
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | รัชฎาภรณ์ จันทดิษฐาวัฒน์, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-13T08:13:32Z | - |
dc.date.available | 2023-11-13T08:13:32Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10429 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลให้พื้นที่ฝึงกลบขยะ ปราศจากการต่อด้านจากชุมชน (2) สรุปบทเรียนของพื้นที่ฝังกลบขยะเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของพื้นที่ฝังกลบขยะอื่น ๆ กลุ่มประชากรวิจัย คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเทศบาลตำบลบ้านตาลซึ่งมีจำนวน 5,289 คนโดยคำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จากสูตรของ Taro Yamane ดังนั้นใช้กลุ่ม ตัวอย่างในการศึกษาทั้งหมด 372 คน และการสัมภาษณ์บุคคลโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่ประชาชนให้ความสำคัญมากที่สุดคือ ด้านการบริหารจัดการ ซึ่งทางโครงการฯ ได้บริหารจัดการให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย ลดผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชุมชนจัดการปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นจนประชาชนไม่ได้รับ ผลกระทบหรือได้รับเพียงส่วนน้อย การรับเรื่องร้องเรียนโดยแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ทำให้ชุมชนที่อยู่ใกล้พื้นที่ฝังกลบขยะมีความวางใจในการดำเนินงาน (2)การที่โครงการฯสามารถดำเนินการมา ได้จนถึงปัจจุบัน โดยไม่มีการต่อด้านจากชุมชนนั้น เนื่องมาจากโครงการฯสามารถบริหารจัดการพื้นที่ฝังกลบขยะให้มีประสิทธิภาพ ถูกหลักสุขาภิบาล เพื่อลดผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียง ทั้งยังทำให้ชุมชนได้รับผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรงเช่นการชดเชยค่าเสียหายที่ชุมชนอาจจะได้รับผลกระทบในการจัดตั้งโครงการฯ ทางอ้อมเช่นมีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคให้ดีขึ้น การช่วยเหลือและการมีส่วนร่วมกับชุมชนในหลายๆ ด้าน อีกทั้งควรเปิดให้ทุกภาคส่วนสามารถเข้าตรวจสอบการดำเนินโครงการฯได้เพื่อสร้างความเชื่อมั่น และความไว้วางใจแก่ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงหรือผู้ที่สนใจ เพื่อให้โครงการฯสามารถดำเนินงานต่อไปได้อย่างราบรื่น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การฝังกลบขยะ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลให้พื้นที่ฝังกลบขยะปราศจากการต่อต้านจากชุมชน กรณีศึกษาพื้นที่ฝังกลบขยะบ้านตาล อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influence upon community’s no opposition on waste disposal : a case study of Bantan, Hod District, Chiang Mai Provincial | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are (1) to study factors affecting waste disposal without community resistance and (2) to summarize a lesson learned for operation guideline of other landfill sites. The research population consisted of 5,289 people living in the Ban Tan Sub-district Municipality, by calculating the sample size from Taro Yamane formula. The samples in the study were 372 people and the purposive samples with interview were 9 people. The tools for collecting data were questionnaires and interview. The statistics used for data analysis were percentage, average, standard deviation. A qualitative data was analyzed by a descriptive analysis. This research found that (1) the most important factor is project management. The project has been managed correctly according to sanitation principles with a developed technology in order to reduce impacts on community. No people or some people affected by the proper management of pollution problems. Receiving complaints process could solve problems in a timely manner resulting in the community near the waste disposal to trust in operations. (2) The project has been able to operate without community resistance because the project can manage the waste disposal efficiently with sanitation principles to reduce the impacts on nearby community. The project contributed both direct and indirect benefits. For direct benefit, the community received compensation forrisk for any damages due to establishment of the project. Theindirect benefits included the improvement of public utility systems and assistance and participation with the community in many aspects. Moreover, the project should be able to inspect theproject implementation by all sectors to create confidence and trust of nearby communities or interested parties. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161025.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License