Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10453
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยวัฒน์ คงสม | th_TH |
dc.contributor.author | จริยา รัมมนต์, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-15T04:01:11Z | - |
dc.date.available | 2023-11-15T04:01:11Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10453 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับป่าชุมชนในภาคเหนือตอนบน 2) สภาพการบริหารและการจัดการป่าชุมชนในภาคเหนือตอนบน 3) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการป่าชุมชนในภาคเหนือตอนบน และ 4) สังคราะห์แนวทางการจัดการป่าชุมชนในภาคเหนือตอนบน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษาที่เกี่ยวกับการจัดการป่าชุมชนในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย พิมพ์เผยแพร่ ระหว่างปี 2545 - 2560 จำนวน 20 เรื่อง และกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 9 เรื่องที่สามารถสืบค้นฉบับสมบูรณ์ได้ เครื่องมือในการเก็บข้อมูลเป็นแบบบันทึกข้อมูลที่จัดทำขึ้นที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ การวิเคราะข้อมูลเป็นการวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) ป่าชุมชนใน 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบนในปี 2561 มีพื้นที่ทั้งหมด 3,146,446.30 ไร่ และพื้นที่ป่าชุมชนที่ทำการศึกษา จำนวน 37,285 ไร่ สภาพป่าส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณที่มีป่าชนิดอื่นขึ้นปะปน แบ่งเป็นเขตอนุรักษ์และเขตใช้สอยในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการยังชีพ 2) การบริหารและการจัดการป่าชุมชนส่วนใหญ่ดำเนินการโดยคณะกรรมการหมู่บ้านและ/หรือคณะกรรมการป่าชุมชนและ/หรือคณะกรรมการชุมชนอื่นร่วมกับกรมป่าไม้ และ/หรือภาครัฐและภาคเอกชนอื่น ๆ ในลักษณะแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การบริหารจัดการป่าชุมชนประกอบด้วย (1) การวางแผน (2) การจัดองค์การ (3) การนำ และ (4) การควบคุม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการจัดการพื้นฐานสำคัญ 4 ด้าน 3) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการป่าชุมชน แบ่งออกเป็น (1) ปัจจัยภายใน ได้แก่ การมีส่วนร่วมของชุมชน การมีผู้นำและคณะกรรมการป่าชุมชนที่เข้มแข็ง การมีกฎ ระเบียบ และข้อบังคับป่าชุมชนที่เป็นรูปธรรม และการใช้กุศโลบายด้านวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรมและความเชื่อในการอนุรักษ์ป่าไม้ และ (2) ปัจจัยกายนอก ได้แก่ การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคีเครือข่ายและองค์กรอิสระต่าง ๆ 4) แนวทางการจัดการป่าชุมชน ได้แก่ (1) การปลูกฝังจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ให้กับสมาชิกในชุมชน (2) การกระจายอำนาจในการดูแลรักษาพื้นที่ป่าไม้ในรูปแบบของป่าชุมชน (3) การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การปฏิบัติ การรับผลประโยชน์ และการประเมินผล (1) การคัดเลือกผู้นำป่าชุมชนที่มีความเข้มแข็ง (5) การให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลป่าชุมชน (6) การมีกฎ ระเบียบ และข้อบังคับป่าชุมชนที่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง (7) การใช้วัฒนธรรม ประเพณี พีธีกรรมและความเชื่อมาใช้ในการอนุรักษ์ป่าไม้เพื่อการจัดการป่าชุมชน (8) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการป่าชุมชน ภายใต้การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคีเครือข่ายและองค์กรอิสระต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ (9) การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการป่าชุมชน (10) การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการทรัพยากรเกษตร--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ป่าชุมชน--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การจัดการทรัพยากรเกษตร | th_TH |
dc.title | การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการจัดการป่าชุมชน : กรณีศึกษาป่าชุมชนในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Research synthesis on guidelines for community forest management : case studies of community forests in the Upper Northern of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The independent study objectives were 1) to study basic information about community forest in Upper Northern Thailand, 2) to study community forest management practices in Upper Northern Thailand, 3) to analyze the factors affecting community forest management, and 4) to synthesize community forest management guidelines in Upper Northern Thailand. The study was a qualitative research. The population was 20 graduate thesis works on community forest management in Upper Northern Thailand with publishing between 2002 and 2017. The sample was 9 thesis that can be searched in full text. Data collection instrument was the record form developed to meet the research objectives. Data were analyzed and synthesized through content analysis.The results indicated that 1) community forest area in Upper Northern Thailand in 2018 was 3,146,446.30 rai and 37,285 rai in the study areas. Most of them were mixed deciduous forest along with other forest types divided into conservation zone and utilization zone for subsistence-related activities. 2) Most of community forest management was carried out by village committees and / or community forestry committees and / or other community groups together with Royal Forest Department and /or other government organizations or the private sector along with community participatory. Management process included (1) planning, (2) organizing, (3) leading, and (4) controlling, which were consistent with 4 key management principles. 3) factors affected community forest management were divided into (1) internal factors, namely community participation, strong community forest leaders and committees, concrete rules and regulations, and the use of strategies in culture, traditions, rituals and beliefs in forest conservation, and (2) external factors, including support from government and private agencies, network partners and independent organizations. 4) The management guidelines included (1) instilling consciousness of forest resource conservation in the community, (2) decentralization of forest management in the form of community forest, (3) permitting participatory into decision-making, implementation, receiving benefits, and evaluation , (4) selection of strong community forest leaders. (5) encouraging youth participation in community forest management, (6) establishing community forest rules and regulations that can be put into practice, (7) making use of cultures, traditions, rituals and beliefs in forest conservation, (8) building collaborative networks for managing community forests under the support of government agencies, private sector, social networks, and independent organizations systematically, (9) enhancing knowledge and understanding of community forest management, and (10) publicizing information regularly. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License