Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10454
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ศิลปอาชา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฉัตรชัย หอมเพชร, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T04:09:28Z-
dc.date.available2023-11-15T04:09:28Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10454-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) เปรียบเทียบระดับการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) ศึกษาความสําคัญของปัจจัยส่วนประสมทางตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสํารวจ ประชากรคือผู้บริโภคผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป เคยซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์และอาศัยอยู่ในอําเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งไม่ทราบจํานวนที่แน่นอน คํานวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ และการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า 1) ระดับการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาและอาชีพที่แตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ไม่แตกต่างกัน 3) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระดับ 0.05 ประกอบด้วย ด้านช่องทางการจัดจําหน่าย ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด โดยเรียงลําดับจากมากไปน้อยตามลําดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริโภค--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการเลือกของผู้บริโภค--ไทยth_TH
dc.subjectการตลาดอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeFactors Affecting decision on purchasing products via online application of consumers in Mueang District, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to study the level of decision on purchasing products via online application of consumers in Mueang District, 2) to compare the level of purchasing decisions via online application of consumers in Mueang District, classified by personal factors, 3) to study the importance level of marketing mix factors affecting the decision on purchase products via online application of consumers in Mueang District, Mae Hong Son Province This study was survey research. The population was unknown people who were aged over 15 years old, living in Mueang District Mae Hong Son Province, and used to buy products through online application. The sample size was calculated by Cochran Formula as a total of 400 samples, using multi-stage sampling. The instrument used to collect data was a questionnaire. The statistics used to analyze data were descriptive statistics including Frequency, Percentage, Mean, and Standard Deviation. The inferential statistics including t-test, One-Way Analysis of Variance, and Pearson’s Correlation Coefficient. The results of the study showed that (1) the level of decision on purchasing products via online application of consumers was at the highest level. (2) The respondents who had differences in education level and occupation had differences in purchasing product decision via online application at statistical significance of 0.05. Those who had differences in gender, age, and average monthly income had no difference in purchasing decision via online application. (3) Marketing mix factors affected the decision on purchasing products via online application of consumers in Mueang District, Mae Hong Son Province at statistical significance of 0.05. They consisted of distribution channels, prices and marketing promotion respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons