Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาวดี ธีรธรรมากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฟาลิดา ศรีพรหม, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T06:14:17Z-
dc.date.available2023-11-15T06:14:17Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10459-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระยะเวลาการเก็บบ่มที่ทำให้ปริมาณความชื้นของก้อนยางเหมาะสมต่อสมบัติยางธรรมชาติผสมกับยางสังเคราะห์ (MNR) ตามเกณฑ์ที่กำหนด และปริมาณความชื้นสัมพัทธ์ที่มีอิทธิพลต่อปริมาณความชื้นก้อนยางและปริมาณเนื้อยางแห้ง ซึ่งจะส่งผลต่อปริมาณของเสีย ที่จะเกิดขึ้นในกระบวนการผลิต การดำเนินการวิจัยเริ่มจากการศึกษาปริมาณเนื้อยางแห้ง ความชื้นสัมพัทธ์ สมบัติของยางก้อนถ้วย และสมบัติของยางแท่ง MNR จากการเก็บบ่มแบบที่อากาศถ่ายเทได้สะดวกกับการเก็บบ่มแบบมีพลาสติกปกคลุม จากนั้นจึงทำการเปรียบเทียบข้อมูลเพื่อหาคำคุณสมบัติที่ดีที่สุด ผลการศึกษาพบว่า การเก็บบ่มแบบมีพลาสติกปกคลุมให้ปริมาณเนื้อยางแห้งดีที่สุดคือร้อยละ 68.3 1 ฉะนั้นปริมาณความชื้นของก้อนยางจึงมีค่าร้อยละ 31.49 ที่ความชื้นสัมพัทธ์ โดยรอบของบ่อเฉลี่ยร้อยละ 93 ช่วงเวลา 05.00 น. ในตำแหน่งท้าย ในส่วนสมบัติของยางก้อนถ้วยที่ทำการเก็บบ่มแบบมีพลาสติกปกคลุม ณ ตำแหน่งท้ายในช่วงเวลา 05.00 น. มีค่าความอ่อนตัวเริ่มต้นของยางดีที่สุด คือ 45.7 และค่าดัชนีความอ่อนตัวของยาง อยู่ในเกณฑ์ ที่กำหนด คือ 68.2 และจากการผลิตยางแท่ง MNR ด้วยยางก้อนถ้วยตำแหน่งท้าย มีสมบัติยางแท่งที่ดีอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดของบริษัทซึ่งอ้างอิงจากมาตรฐานยางแท่งไทย และปัจจุบันยังสามารถลดปริมาณของเสียเหลือ 0.63% โดยสามารถลดปริมาณของเสียได้ถึง 1 %th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectยางth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleสภาพที่เหมาะสมในการเก็บบ่มยางก้อนถ้วยที่ส่งผลต่อสมบัติยางธรรมชาติผสมยางสังเคราะห์th_TH
dc.title.alternativeProper conditions for curing cup lump that affect natural rubber and synthetic rubber propertiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the curing time that makes the moisture content of rubber lump suitable for the properties of natural rubber mixed with synthetic rubber (MNR) as specified, the effect of relative humidity that influences the moisture content of rubber lump and dry rubber content, which affected the amount of waste in the production process. The research has been carried out, starting with the study of the amount of dry rubber content, relative humidity, properties of cup lump and the properties of MNR rubber cup lump curing by ventilated place and plastic covered curing. Then compare the data to find the best properties. It was found that the plastic - covered curing gave the best dry rubber content at 68.51 percent. At the position at the bottom of the pond the moisture content of the cup lump was 31.49 percent, at the average relative humidity of 93 percent at 05.00 AM. The properties of the cup lump cured with plastic covering at the position at the bottom of the pond at 05.00 AM, the initial plasticity of the rubber was the best 45.7 and the plasticity retention index of the rubber was 68.2 as according to the specified standard. The MNR rubber production process by cup lump at the end position has meet the company specified criteria which is based on Standards Thai Rubber and currently can reduce waste to 0.63% with reducing the amount of waste up to 1%.en_US
Appears in Collections:Science Tech - Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons