Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1045
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร พุทธาพิทักษ์ผลth_TH
dc.contributor.authorศรัณย์ พินิจพะระ, 2508-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T06:32:50Z-
dc.date.available2022-08-26T06:32:50Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1045en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของพระธรรมกถึกและ (2) สภาพปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศของพระธรรมกถึก วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นพระสงฆ์ที่ได้รับรางวัลพระราชทาน “เสมาธรรมจักร” ประเภทเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ และประเภทการส่งเสริมการศึกษาระหว่าง พ.ศ. 2533 – 2551 และพำนักอยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 97 รูป โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามประเภทของรางวัล และเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจงจำนวน 20 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของคริคิลาสเป็นแนวทางในการศึกษา ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้แนวทางการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของพระธรรมกถึก เริ่มต้นจากสภาพแวดล้อมหรือเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ก่อให้เกิดกิจกรรม 2 ประเภท ได้แก่ การให้สารสนเทศ และการรวบรวมสารสนเทศ กิจกรรมการให้สารสนเทศมี 4 ประเภท ได้แก่ การบรรยายธรรม การแสดงพระธรรมเทศนา การสอน และการแต่งหนังสือ แต่ละประเภทมีความสัมพันธ์กับความต้องการเร่งด่วนที่ต้องแสวงหาทันทีทั้งจากแหล่งสารสนเทศภายใน ได้แก่ ความจำของตน แฟ้มส่วนบุคคล และแหล่งสารสนเทศภายนอก ได้แก่ การติดต่อ ระหวางบุคคล ห้องสมุด และ อินเทอร์เน็ต ส่วนกิจกรรมการรวบรวมสารสนเทศผ่านวิธีการหลากหลายประเภท ซึ่งวิธีการเหล่านั้นมีลักษณะเป็นพฤติกรรมสารสนเทศในแต่ละวันมีความสัมพันธ์กับความต้องการที่รอคอยได้ พฤติกรรมนี้ครอบคลุมทั้งการแสวงหาสารสนเทศ 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) การแสวงหาสารสนเทศที่มิได้ริเริ่มเอง พบว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักรวบรวมสารสนเทศผ่านกิจกรรม 6 ประเภท เช่น การอ่านหนังสือพิมพ์ การรับชมโทรทัศน์การรับฟังวิทยุ การอ่านหนังสือ การใช้อินเทอร์เน็ต การบอกรับเป็นสมาชิกข่าวข้อความสั้น และ 2) การแสวงหาสารสนเทศที่ริเริ่มเอง พบว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักรูปเดียวรวบรวมสารสนเทศผ่านกิจกรรมการติดต่อโดยตรงและจากวัตถุประสงค์ผลการวิจัย (2) สภาพปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศของพระธรรมกถึก พบว่า ด้านการรวบรวม สารสนเทศ ได้แก่ แหล่งสารสนเทศเป็นแหล่งอโคจรสำหรับพระภิกษุสงฆ์ และไม่มีเวลาในการติดตามข้อมูลที่สนใจ ด้านการให้สารสนเทศ ได้แก่ ข้อมูลไม่ทันสมัย ได้ข้อมูลไม่ทันกับเวลาที่ต้องการ และความไม่เที่ยงตรงของข้อมูลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.135en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพระธรรมกถึก--ไทยth_TH
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสารth_TH
dc.titleพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของพระธรรมกถึกในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeInformation seeking behaviors of buddhist monk preachers in Bangkok and its vicinitiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.135-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this qualitative research were to study information seeking behavior and to investigate the problems in information seeking behavior of Buddhist monk preachers. The study used face-to-face, in-depth interviews to elicit data from the sample of 20 of the 97 Buddhist monk preachers who won “Sema Thammajak” awards between B.E. 2533-2551, lived in Bangkok and its vicinities, and were stratified random sampling. James Krikelas’s Information Seeking Behavior provided a framework for the study. The major findings were: (1) information seeking behavior of Buddhist monk preachers started from need-creating events/environment in everyday life. Consequently, two associated activities with the events/environment were found: information giving and information gathering. Information giving was associated with immediate information needs consists of lecturing, preaching, teaching and book writing. They sought from internal sources: memory, personal files, and external sources: direct contact, libraries and the internet. Information gathering was associated with deferred information needs and involved passive activities: reading newspapers, and watching television, listening to radio, reading books, using internet and subscribing to news by SMS. Only one participant reported active information gathering by direct contact. (2) Two problems related to information seeking activities were found. Those found during information gathering were that some information sources involved improper places for monks and inadequate time for keeping current with relevant topics. Problems found during information giving were out-of-date data, untimely information, and inaccurate information.en_US
dc.contributor.coadvisorอำนาจ บัวศิริth_TH
dc.contributor.coadvisorพวา พันธุ์เมฆาth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (18).pdfเอกสารฉบับเต็ม22.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons