Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10464
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมานะ โกศล, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T06:41:05Z-
dc.date.available2023-11-15T06:41:05Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10464-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 และ (2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพการให้บริการในแต่ละด้านของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ คณะกรรมการดำเนินการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 ทั้งหมด 18 สหกรณ์ จำนวน 173 ราย คำนวณกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีใช้สูตรทาโร่ ยามาเน ได้กลุ่มตัวอย่าง 120 ตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และความแปรปรวนทางเดียว โดยจะทดสอบความแตกต่างรายคู่ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพการให้บริการของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการรู้จักและเข้าใจลูกค้ามีระดับคะแนนมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า ด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการมีระดับคะแนนน้อยที่สุด และ (2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพการให้บริการของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ผู้รับบริการจากกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 ที่มีตำแหน่งแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนผู้รับบริการที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาการเป็นสมาชิกแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectสหกรณ์ --ไทย--ความพอใจของผู้ใช้บริการ.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์ กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2th_TH
dc.title.alternativeService quality of Cooperative Promotion 5 of Cooperative Office in Bangkok Area 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the service quality level of Cooperative Promotion Group 5 of Bangkok Cooperative Promotion Office Area 2; and (2) to compare the service quality level in each aspect of the Cooperative Promotion Group 5 of Bangkok Cooperative Extension Office Area 2, classified by demographic factors. This study was a survey research. The population used in this study was the implementation committees and cooperative staff under responsibilities of the Cooperative Promotion Group 5 of Bangkok Cooperative Extension Office Area 2, for 18 cooperatives, as a total of 173 people. The sample group was calculated using the Taro Yamane formula and 120 samples were obtained. Data were collected by simple random sampling. The research tool was a questionnaire on service quality. Statistics used in Data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and the value test (t-test) for variance one-way, where pair differences are tested. The results of this study found that: (1) the overall level of service quality of the Cooperative Promotion Group 5 of Bangkok Cooperative Promotion Office Area 2, was at a high level. When considering each aspect, it was found that the aspect of knowing and understanding customers had the highest score, followed by the response to customers, confidence to customers, while the concreteness of the service had the lowest rating. (2) Comparison of service quality level of Cooperative Promotion Group 5 of Bangkok Cooperative Promotion Office Area 2, classified by demographic factor, found that service recipients with different positions had different opinions on the quality of service at the statistical significance of .05 level. Those with different gender, age, education and membership period had no different opinions on the quality of serviceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons