Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth_TH
dc.contributor.authorรัศมี ดวงคำ, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T06:49:44Z-
dc.date.available2023-11-15T06:49:44Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10466en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพร้อมของการทำงานจากที่บ้านของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (2) เปรียบเทียบความพร้อมของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พนักงานสายสนับสนุนวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง จำนวน 63 คน โดยศึกษาประชากรเต็มจำนวน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถามในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้มาจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์ โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ โดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ด้วยสถิติค่าทีและค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับความพร้อมของการทำงานจากที่บ้านของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ด้านความรู้ความสามารถ และทักษะปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศ และระดับความพร้อมด้านเจตคติ/ความเต็มใจ โดยภาพรวม อยู่ในระดับความเห็นด้วยมาก 2) แนวคิดการปฏิบัติงานจากที่บ้านได้รับการยอมรับจากพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ โดยขึ้นอยู่กับลักษณะตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งการปฏิบัติงาน และ ลักษณะที่พักอาศัย ที่แตกต่างกันส่งผลต่อระดับความพร้อมของการทำงานจากที่บ้าน ด้านความรู้ความสามารถ และทักษะปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และลักษณะของปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งการปฏิบัติงานที่แตกต่างกันส่งผลต่อระดับความพร้อมของการทำงานจากที่บ้านของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ด้านเจตคติ/ความเต็มใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความพร้อมในการปฏิบัติงานที่บ้านของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeReadiness to work from home of staff in the Faculty of Architecture in an education institutionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the readiness level of the academic supporting staff of the Faculty of Architecture towards work from home, and (2) to compare the readiness level of the academic supporting staff of Faculty of Architecture by individual factors. This study was a survey research. The population employed in this study was the academic supporting staff who worked in the Faculty of Architecture in an education institute. The sample size was collected from the total population of 63 samples. The data was gathered by a questionnaire and was analyzed by statistical program. Statistical analysis include frequency, percentage, mean, standard deviation, Independent t-test and Independent F-test analysis. The results of the study revealed that (1) the level of the readiness of the academic supporting staff towards work from home was at a high level, including the readiness of ability and Information technology skills and the readiness of willingness. (2) The concept of work from home was widely accepted by the staff. Academic supporting staff with individual factors of gender, age, level of education, work experiences, work characteristics and household characteristics affected the readiness of ability and Information technology skills significantly at the statistical level of 0.05. Academic supporting staff with individual factors of age, level of education and work characteristics affected the readiness of willingness significantly at the statistical level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons