Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัฒนา รัศมี, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T06:59:40Z-
dc.date.available2023-11-15T06:59:40Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10467-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทมิตซูบิชิมอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานแหลมฉบัง (2) ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุนของพนักงานบริษัทมิตซูบิชิมอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานแหลมฉบัง (3) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงาน บริษัทมิตซูบิชิมอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานแหลมฉบัง (4) ปัจจัยจูงใจ ปัจจัยค้ำจุนที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทมิตซูบิชิมอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานแหลมฉบัง การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่สำนักงาน และผู้บริหารของบริษัทมิตซูบิชิมอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานแหลมฉบัง จำนวน 1,127 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 295 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการศึกษา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1) ระดับความผูกพันต่อองค์การ โดยรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 2) ระดับปัจจัยจูงใจและ ปัจจัยค้ำจุน โดยรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยส่วนบุคคล จำแนกตาม อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุด ประสบการณ์ในการทำงาน และหน่วยงานที่ปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านเพศ มีความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน และ 4) ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทยth_TH
dc.subjectพนักงานบริษัท--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทมิตซูบิชิมอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานแหลมฉบังth_TH
dc.title.alternativeFactors related to organizational commitment of staffs in Mitsubishi Motors (Thailand) Company Limited at Laem Chabang Factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the level of organizational commitment of staffs of Mitsubishi Motors (Thailand) Company Limited at Laem Chabang Factory; (2) the level of motivational factors and maintenance factors of staffs in Mitsubishi Motors (Thailand) Company Limited at Laem Chabang Factory; (3) the comparison on the organizational commitment, classified by personal factors of the staff of Mitsubishi Motors (Thailand) Company Limited at Laem Chabang Factory; and (4) the motivational factors and maintenance factors related to organizational commitment of staffs of Mitsubishi Motors (Thailand) Company Limited at Laem Chabang Factory. The population of this survey research was 1,127 officers and executives of Mitsubishi Motors (Thailand) Company Limited at Laem Chabang Factory. The sample size was 295 officers, determined by using Taro Yamane formula and randomized by stratified sampling method. A questionnaire was used as an instrument in this study. The data analysis was conducted by using descriptive and analytic statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, t- test and one-way ANOVA including Pearson’s Correlation Coefficient. The results of this study indicated that: 1) the overall opinions on the level of organizational commitment were at a high level; 2) the overall opinions on the level of motivational factors and maintenance factors were at a high level; 3) the respondents with different personal factors, classified by age, marital status, highest educational level, work experience, and operating work units, had different organizational commitment with a statistical significance at the level of .05, while the respondents with different personal factors, classified by gender had no different organizational commitment; and 4) the motivational factors and maintenance factors were positively related to the organizational commitment of staff, with a statistical significance at the level of .01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons