Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10476
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ศิลปอาชาth_TH
dc.contributor.authorอัศวิน ภาชู, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T07:52:54Z-
dc.date.available2023-11-15T07:52:54Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10476en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสําคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับการเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศของผู้บริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (2) ศึกษาการตัดสินใจเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศของผู้บริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (3) เปรียบเทียบการตัดสินใจเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อม และบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศของผู้บริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับการตัดสินใจเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศของผู้บริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสํารวจ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้บริโภคที่มีบ้านพักอาศัยในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และใช้เครื่องปรับอากาศเป็นประจํา ซึ่งไม่ทราบจํานวนประชากรและสัดส่วนที่แน่นอน กลุ่มตัวอย่างจํานวน 400 คน คํานวณโดยใช้สูตรของคอแครน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยวิธีของแอลเอสดี และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความสําคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับการเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) การตัดสินใจเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศโดยรวมอยู่ในระดับมาก (3) ผู้บริโภคที่มีอายุและอาชีพที่แตกต่างกัน มีการตัดสินใจเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้บริโภคที่มีเพศ สถานภาพ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกันมีการตัดสินใจเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศไม่แตกต่างกัน และ (4) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริโภค--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectเครื่องปรับอากาศth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกใช้บริการงานตรวจซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFactors relating selecting decision on using air conditioning repair and maintenance services in Mueang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the importance level of marketing mix factors of selecting to use air conditioning repair and maintenance services, (2) to study selecting decision on using air conditioning repair and maintenance services, (3) to compare selecting decision on using air conditioning repair and maintenance services classified by personal factors, and (4) to study the relationship between marketing mix factors and selecting decision on using air conditioning repair and maintenance services of consumers in Mueang District, Chiangmai Province. The population in this study was consumers who resided in Muang district, Chiangmai province and used the air conditioning regularly. The number of population was unknown. The sample size was calculated by Cochran Formula as a total of 400 samples, using convenient sampling. The instrument used to collect data was a questionnaire. The statistics used to analyze data were Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, t-Test, One-Way Analysis of Variance, LSD and Pearson’s Correlation Coefficient. The results of this study showed that (1) the importance level of the marketing mix factors of selecting to use air conditioning repair and maintenance services was at a high level. (2) The selecting decision on using air conditioning repair and maintenance services was at a high level. (3) The respondents who had differences in age and occupation had differences in selecting decision on using air conditioning repair and maintenance services at statistical significance of 0.05. Those who had differences in gender, status, education level, and average monthly income had no difference in selecting decision on using air conditioning repair and maintenance services. (4) The marketing mix factors were related to selecting decision on using air conditioning repair and maintenance services at statistical significance of 0.01.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons