Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเก็จกนก เอื้อวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุดม ยาวะระ, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T07:59:44Z-
dc.date.available2023-11-15T07:59:44Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10477-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ (2) ศึกษาสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน (3) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน และ (4) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบีงกาฬจำนวน 327 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และศึกษานิเทศก็ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบตอบสนองคู่เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน ซึ่งมีค่าความเที่ยง .97 และ .97 ตามลำดับ และแนวคำถามในการสัมภาษณ์ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานของสถานศึกษาโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับค่อนข้างมาก (2) สภาพที่พึ่งประสงค์ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (3) ความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานเรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ การจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนทำการวิจัย การจัดการเรียนรู้โดยให้ครูกับผู้เรียนได้ร่วมกันทำวิจัย การจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นผู้ศึกษาค้นคว้างานวิจัย และการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ผลวิจัยมาพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และ (4) แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานได้แก่ (4.1) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรกำหนดให้การจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐานเป็นจุดเน้นการพัฒนาของเขตพื้นที่การศึกษา ควรสนับสนุนปัจจัยในการจัดการเรียนรู้ ควรสร้างความเข้าใจและความร่วมมือของทุกฝ่าย ควรสร้างเครือข่ายครูเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญในการให้ความช่วยเหลือสถานศึกษา และ (4.2) ผู้บริหารสถานศึกษาควรเป็นผู้นำวิชาการ ควรมีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ควรสร้างแรงจูงใจและความเข้าใจกับครู ควรสร้างความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ควรพัฒนาครูให้มีความรู้ด้านการวิจัย ควรสนับสนุนเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ ควรส่งเสริมให้ครูจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ ควรจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับธรรมชาติของวิชาและผู้เรียน ควรนิเทศกำกับติดตามช่วยเหลือครูอย่างต่อเนื่อง และควรส่งเสริมให้ครูทำรายงานผลหลังปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยเป็นฐานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬth_TH
dc.title.alternativeGuidelines for promoting research-based learning in schools under the Office of Bueng Kan Primary Education Service Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the current condition of research-based learning in schools under the Office of Bueng Kan Primary Education Service Area; (2) to study the expected condition of research-based learning; (3) to study the needs of research-based learning; and (4) to study guidelines for promoting research-based learning in schools. The research sample consisted of 327 teachers in schools under the Office of Bueng Kan Primary Education Service Area, obtained by stratified random sampling based on school size. The research informants for the interviews were three school administrators and educational supervisors under the Office of Bueng Kan Primary Education Service Area. The employed research instruments were a dual-response questionnaire dealing with the current and expected conditions of research-based learning with reliability coefficients of .97 and .97 respectively, and a form containing question guidelines for interviewing. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, PNImodified, and content analysis. The research findings were as follows (1) both the overall and specific aspects of the current condition of research-based learning in the schools were rated at the rather high level; (2) both the overall and specific aspects of the expected condition of research-based learning in the schools were rated at the high level; (3) the needs for research-based learning in the schools could be ranked based on their rating means from top to bottom as follows: the learning management requiring the learners to conduct research, the learning management allowing the teacher and learners to conduct research together, the learning management requiring the learners to study research works themselves, and the learning management using the research findings for developing the learning process; and (4) the guidelines for promoting research-based learning in schools were as follows: (4.1) the educational service area office should determine that research-based learning be the emphasis of development for the educational service area; it should provide support on factors facilitating learning management; it should build understanding and cooperation among all sectors; it should create the teacher networks for exchange of learning; and it should provide experts for assisting the schools; and (4.2) the school administrators should be the academic leaders; there should be the preparation of operational plans; they should inspire and build understanding among teachers, they should build cooperation among stakeholders; they should develop teachers to have knowledge on research; they should provide support on information technology and learning resources; they should encourage teachers to set learning environment that facilitates the learners to learn from practice; they should organize the learning that is relevant to the nature of subjects and nature of learners; they should provide supervision, monitoring and follow-up actions to help teachers on a continuous basis; and they should encourage teachers to manage their post-performance reportsen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons