Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10478
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกศล มีคุณth_TH
dc.contributor.authorถนอม ผิวสว่างth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T08:02:46Z-
dc.date.available2023-11-15T08:02:46Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10478en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุ และผลจากการกระทำของตน ของนักเรียนวัยรุ่น ที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา ความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตน กับไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อพัฒนาความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตน (2) หาประเภท ของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดจากการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความเชื่อ ในการคาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนวัยรุ่นชายและหญิง ที่มีอายุในช่วง 10-13 ปี ที่กำลังเรียนอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ปีการศึกษา 2550 ของโรงเรียนบ้านหัวฝาย จังหวัดอุดรธานี จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบวัดลักษณะ ทางชีวสังคม และแบบวัดจิตลักษณะ จำนวน 5 ฉบับ มีค่าความเที่ยงตั้งแต่ .72 ถึง .88 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตน จำนวน 1 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนม เตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา ความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตน มีความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุ และผลจากการกระทำของตนสูงกว่านักเรียนวัยรุ่นที่ไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อ พัฒนาความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (2) ในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นทั้งกลุ่มเพศชายและกลุ่มเพศหญิงผู้ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อพัฒนาความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตน มีความเชื่อในการ คาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตนสูงกว่ากลุ่มนักเรียนวัยรุ่นเพศเดียวกันที่ไม่ได้รับการฝึก ดังกล่าว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นข้อค้นพบเพิ่มขึ้นจากในกลุ่มรวมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.294en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักเรียนวัยรุ่นth_TH
dc.subjectความเชื่อมั่นในตนเองth_TH
dc.subjectจิตวิทยาวัยรุ่นth_TH
dc.titleผลการฝึกเพื่อพัฒนาความเชื่อในการคาดการณ์สาเหตุและผลจากการกระทำของตน ของนักเรียนวัยรุ่นที่มีจิตลักษณะแตกต่างกันด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวth_TH
dc.title.alternativeThe effects of training by a guidance activity packag for developing the belief in predicting causes and effects of one's behaviors of adolescent students with different psychological characteristicsth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.294-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) compare the belief in predicting causes and effects of one's behaviors of adolescent students who were trained with a guidance activity package for developing the belief in predicting causes and effects of one's behaviors with that of adolescent students who were not trained with the package; and (2) identify the type of adolescent students who benefited most from the training with the guidance activity package for developing the belief in predicting causes and effects of one's behaviors. The research sample consisted of 60 male and female adolescent students, aged 10 - 13 years, who were studying at Prathom Suksa IV - VI level of Ban Hua Fai School in Udon Thani Province in the 2007 academic year. The employed research instruments were (1) a bio-social characteristics assessment form, and five psychological characteristics assessment forms with reliability coefficients ranging from .72 to .88; and (2) a guidance activity package for developing the belief in predicting causes and effects of one's behaviors. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and analysis of variance. Research findings revealed that (1) adolescent students who were trained with the guidance activity package for developing the belief in predicting causes and effects of one's behaviors had significantly higher scores on the belief in predicting causes and effects of one's behaviors, at the .05 level, than the counterpart scores of adolescent students who were not trained with such package; and (2) both the male group and female group of adolescent students who were trained with the guidance activity package for developing the belief in predicting causes and effects of one's behaviors had significantly higher scores on the belief in predicting causes and effects of one's behaviors, at the .05 level, than the counterpart scores of the same sex group of adolescent students who were not trained with such package, which was the additional finding to that on the comparison of whole groups.en_US
dc.contributor.coadvisorเจียรนัย ทรงชัยกุลth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons