Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุกูล ศรีทับทิม, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-16T06:07:46Z-
dc.date.available2023-11-16T06:07:46Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10498-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการโรงแรมเรือนทิพย์ พัทยา บูติค เรสซิเด้นซ์ (2) ศึกษาคุณภาพการให้บริการของโรงแรมเรือนทิพย์พัทยา บูติค เรสซิเคนซ์ และ (3) เปรียบเทียบความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของโรงแรมเรือนทิพย์ พัทยา บูติค เรสซิเด้นซ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ ลูกค้าของโรงแรมเรือนทิพย์พัทยา ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดกลุ่มตัวอย่างได้ 400 คน ด้วยสูตรของคอแครน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะ ห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบเชิงพหุคูณด้วยวิธีผลต่างอย่างมีนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เดินทางมาเมืองพัทยามีวัตถุประสงค์เพื่อการท่องเที่ยวและพักผ่อน เดินทางด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล ใช้บริการเป็นหมู่คณะมากกว่า 10 คน ขึ้นไป พักที่โรงแรมเป็นเวลา 2 คืน รู้จักโรงแรมจากสื่อเว็บไซต์ และการเลือกใช้บริการถูกกำหนดจากหน่วยงาน (2) คุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านรูปลักษณ์ทางกายภาพ ด้านการสร้างความมั่นใจ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตอบสนองความต้องการ ด้านการเอาใจใส่ อยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับ และ (3) ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับการศึกษา อาชีพ ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับคุณภาพการให้บริการ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ส่วนด้าน เพศ อายุ สถานภาพสมรสและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับคุณภาพการให้บริการไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงแรมเรือนทิพย์ พัทยา บูติค เรสซิเดนซ์--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงแรม--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการของโรงแรมเรือนทิพย์ พัทยา บูติค เรสซิเดนซ์th_TH
dc.title.alternativeService quality of Ruenthip Pattaya Boutique Residenceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was (1) The Behavior to use services of Ruentip Pattaya Boutique Residence Hotel (2) to investigate the service quality of Ruentip Pattaya Boutique Residence Hotel and (3) to compare the customer opinions on service quality of Ruentip Pattaya Boutique Residence divided by personal factors. This studying was the survey research the population of this study was customers of the Ruentip Pattaya unknown number of populations and the sample size was 400 people. Data collection instrument was a questionnaire. The statistics used in the analysis were percentage, average, standard deviation, test the value. and variance testing with T-test, One-Way ANOVA and Fisher’s least significant difference (LSD) method of multiple comparison. The study found that (1) The most of guests have the objective to come Pattaya for tourism and leisure, arrived by private car, come to use the service as a group of more than 10 people, stay at the hotel for 2 nights. They know the hotel from the media website and consumer decision making on hotel selection was determined from their organizations. (2) the overall satisfaction in service quality of the respondents was at high level. When considered on an individual basis, Tangibles, Assurance, Reliability, Responsiveness, Empathy, were at high level in descending order, and (3) Respondents’ different levels of education, occupation had different opinions towards the level of service quality with the statistical significance level of .05. In terms of differences of gender, age, marital status, and average monthly income, there were no statistically significant differences in level of service qualityen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons