Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยาณี ภาคอัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุสนา เดชมา, 2537--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-16T07:15:12Z-
dc.date.available2023-11-16T07:15:12Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10506-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยทางการเงินและผลตอบแทนของหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มดัชนี sSET ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ (2) วิเคราะห์ปัจจัยทางการเงินที่ส่งผลต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มดัชนี sSET ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และศึกษาจากประชากร คือ บริษัทจดทะเบียนทั้งหมดในกลุ่มดัชนี sSET ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ยกเว้นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมการเงินที่มีข้อมูลครบถ้วนและเป็นไปตามเงื่อนไขของการศึกษา จำนวน 12 บริษัท สำหรับระยะเวลาตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 รวมระยะเวลา 60 เดือน การศึกษาใช้ข้อมูลทุติยภูมิซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยทางการเงิน และราคาปิดรายเดือนรวมทั้งเงินปันผลของบริษัทจดทะเบียน วิธีการที่ใช้ในการศึกษา คือ สมการถถอยแบบอนุกรมเวลา สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่ามัธยฐาน และวิธีของนิววีย์เวสเพื่อแก้ไขส่วนเยงเบนมาตรฐานของตัวประมาณค่าโดยคำนึงถึงความไม่คงที่ของความแปรปรวนในตัวแปรสุ่มคลาดเคลื่อนและความสัมพันธ์กันเองของตัวแปรสุ่มคลาดเคลื่อน ผลการศึกษาพบว่า (1) อัตราส่วนราคาตลาดต่อหุ้นต่อกำไรสุทธิต่อหุ้น มีค่าเฉลี่ยประมาณ 17.25 เท่า ค่าสูงสุด ต่ำสุด และมัธยฐาน เท่ากับ 39.451 เท่า 6.66 เท่า และ 19.8 เท่า ตามลำดับ ส่วนขนาดของกิจการและความสี่ยงธุรกิจ มีค่าเฉลี่ยประมาณ 8.75 และ 0.92 ค่าสูงสุด ต่ำสุด และมัธยฐานประมาณ 9.38 1.57 8.14 0.48 8.70 และ 0.93 ตามลำดับ สำหรับผลตอบแทนของหลักทรัพย์ มีค่าเฉลี่ยประมาณอัตราร้อยละ 0.01 ค่าสูงสุด เท่ากับอัตราร้อยละ 0.03 และค่าต่ำสุดเท่ากับค่ามัธยฐาน คือ อัตราร้อยละ 0.01 และ (2) อัตราส่วนราคาตลาดต่อหุ้นต่อกำไรสุทธิต่อหุ้น คือ ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลทางบวกต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียน รองลงมา คือ ขนาดของกิจการและความเสี่ยงธุรกิจที่ส่งผลทางบวกเช่นกัน ส่วนดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจส่งผลทางลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ และ 0.10th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectดัชนีราคาหลักทรัพย์th_TH
dc.subjectหุ้นและการเล่นหุ้น--อัตราผลตอบแทนth_TH
dc.subjectหุ้นและการเล่นหุ้น--ความเสี่ยงth_TH
dc.titleปัจจัยทางการเงินและผลตอบแทนของหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มดัชนี sSET ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFinancial factors and stock returns of listed companies in the sSET index in the Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the financial factors and stock returns of listed companies in the sSET index in the Stock Exchange of Thailand, and (2) to analyze the financial factors affecting the stock returns of the listed companies in the sSET Index in the Stock Exchange of Thailand. This study was a quantitative research and focused on population, all listed companies in the sSET index in the Stock Exchange of Thailand, except for companies in the financial industry, with completed data and according to conditions the study of 12 companies. The period of the study was 60 months from January 2016 to December 2020. The data used in the study was secondary data consisting of financial factors and monthly closing price including dividend of listed companies. The methodology used in the study was the time series regression. The statistics used in the study were mean, standard deviation, maximum, minimum, and median. In addition, the method of Newy – West was used to correct the standard deviation of the estimators for heteroscedasticity and autocorrelation. The results reported that (1) the mean of price to earnings ratio of listed companies was about 17.25 times while the maximum, the minimum and the median were 39.451 times 6.66 times, and 14.8 times, respectively. For the firm size and the business risk, their means were 8.75 and 0.92, and the maximum, the minimum and the median were 9.38 1.57 8.14 0.48 8.70 and 0.93, respectively. Similarly, the mean of stock returns was about 0.01% while the maximum was 0.03%. The minimum was equal to the median, 0.01%. (2) Price to earnings ratio was an important factor that showed a positive effect on stock return of the listed companies. The next were firm size and business risk that showed the positive effect as well. For the business sentiment index it showed the negative effect on stock returns with statistically significant at 0.05 and 0.10 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons