Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10514
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระวุธ ธรรมกุล | th_TH |
dc.contributor.author | บุญธรรม มิ่งแก้ว, 2509- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-16T08:21:32Z | - |
dc.date.available | 2023-11-16T08:21:32Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10514 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้และทัศนคติในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิต (2) ระดับการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิต และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ และระดับการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอในจังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างคือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 196 คน จากประชากรทั้งหมด 399 คน คำนวณขนาดตัวอย่างจากการเปิดตารางของเครจซึ่และมอร์แกน (1970) ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย โดยวิธีจับสลาก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าแอลฟ่าครอนบาคในส่วนของความรู้ ทัศนคติและการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิต มีค่าเท่ากับ 0.90, 0.89 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 51-60 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีสถานภาพสมรส เป็นบุคลากรจากภาครัฐ มีรายได้ต่อเดือน มากกว่า 35,000 บาท มีระยะเวลาปฏิบัติหน้าที่เป็นคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิต 1-3 ปี และมีประสบการณ์การประชุม/อบรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านความรู้เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านทัศนคติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ด้านการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ (3) ปัจจัยด้านการศึกษา สถานภาพสมรส และทัศนคติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งปัจจัยทั้ง 3 ด้านดังกล่าวส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานฯ ร้อยละ 70.2 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | คุณภาพชีวิต--ไทย--สุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors relating participation in mobilization to the improvement of quality of life among District Health Board in Surat Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This cross-sectional research aimed to study: (1) personal factors, knowledge and attitude in driving work to improve quality; (2) the level of participation in driving the work to improve the quality of life (QOL), and (3) the relationship between personal factors, knowledge, attitudes and the level of participation in driving the quality of life improvement of the District Health Boards (DHB) in Surat Thani province. The study involved 196 DHB members randomly selected from all 399 members of DHB in all 19 districts in Surat Thani – the sample size determined using the tables of Krejcie & Morgan (1970). Data were collected using a questionnaire with Cronbach's alpha confidence coefficients of 0.90, 0.89 and 0.95 for QOL-related knowledge, attitudes and participation, respectively, and then analyzed to determine frequencies, percentages, means, standard deviations and multiple regressions. The results revealed that: (1) most of them were married male government officials aged 51–60 years with a bachelor's degree, had a monthly income of >35,000 baht and 1–3 years’ tenure on DHB, and had attended a meeting or training session on quality of life improvement; their levels of knowledge and attitudes about/towards participation in QOL improvement were moderate and high, respectively; (2) their overall participation in DHB mobilization for QOL improvement was at a high level; and (3) their educational level, marital status, and participation attitudes were significantly associated with DHB QOL improvement in the province (P<0.05), all of which could affect 70.2% of the participation in QOL mobilization | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License