Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฬารัตน์ แสงอรุณ, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-20T02:41:57Z-
dc.date.available2023-11-20T02:41:57Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10542-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและแนวโน้มธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่ (2) ศึกษาและวิเคราะห์แนวคิดผลิตภัณฑ์ใหม่และสร้างผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่ และ (3) พัฒนาแบบจำลองธุรกิจเชิงกลยุทธ์สำหรับธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี โดย 1) การวิจัยเชิงคุณภาพและวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรม การใช้แบบสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 12 ราย เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่ และการใช้แบบสัมภาษณ์ผู้ประกอบการที่เป็นกรณีศึกษา จำนวน 1 ราย 2) การวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ประกอบด้วยแบบสอบถามผู้บริโภคที่เคยรับประทานเห็ดเยื่อไผ่ จํานวน 399 ราย เพื่อศึกษาทัศนคติและการยอมรับแนวคิดผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่ และแบบสอบถามผู้บริโภคทั่วไป จำนวน 399 ราย เพื่อศึกษาความสำคัญของส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่ 3) นำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดไปประเมิน ทดสอบกับกรณีศึกษาและพัฒนาแบบจำลองธุรกิจเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพมีการเติบโตสูงขึ้น อาหารที่ผู้บริโภคให้ความนิยมคือ อาหารโปรตีนทางเลือกจากพืช และผู้บริโภคส่วนใหญ่คือกลุ่มมิลเลนเนียล และเบบี้บูมเมอร์ และตลาดอาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่มีการเติบโตสูงขึ้น (2) ทัศนคติของผู้บริโภคอยู่ในระดับปานกลางผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่ที่วิเคราะห์ได้มี 4 ชนิด ได้แก่ เครื่องดื่มเห็ดเยื่อไผ่เข้มข้น เห็ดเยื่อไผ่นสำเร็จรูปพร้อมรับประทาน ขนมขบเคี้ยวเห็ดเยื่อไผ่อบกรอบ และผงเห็ดเยื่อไผ่ชงดื่มสำเร็จรูป โดยผลิตภัณฑ์เห็ดเยื่อไผ่หุ้นสำเร็จรูปพร้อมรับประทานได้รับการยอมรับมากที่สุด และผู้บริโภคให้ความสำคัญกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดในระดับมาก และ (3) แบบจำลองธุรกิจที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ กลุ่มลูกค้าหลัก คุณค่าของสินค้าที่นำเสนอ ช่องทางการเข้าถึงสายสัมพันธ์ลูกค้า รูปแบบรายได้ ทรัพยากรหลัก กิจกรรมหลัก หุ้นส่วนหลัก และโครงสร้างต้นทุนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการวางแผนธุรกิจth_TH
dc.subjectการวางแผนเชิงกลยุทธ์th_TH
dc.subjectอาหารเพื่อสุขภาพth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองธุรกิจเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดเยื่อไผ่th_TH
dc.title.alternativeStrategic business model development of healthy food from the bamboo mushroom (dictyophora indusiata)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1)study current situations and trends in healthy food business from bamboo mushroom (2)study and analyze new product concept and develop healthy food products from bamboo mushroom, and (3) develop a strategic business model for the healthy food business from bamboo mushroom. This research was a mixed-method research. 1) Qualitative method and the data analysis was content analysis. Literature review was undertaken from secondary data sources. Twelve key informants were interviewed for new product development of healthy food from bamboo mushroom and one entrepreneur was interviewed as a case study. 2) Quantitative method and statistical data analysis were frequency, percentage, mean and standard deviation. A questionnaire was used for collecting 399 samples of consumers who have eaten bamboo mushroom before in order to investigate attitude and acceptance of a new product and a questionnaire of marketing mix factors was used for collecting 399 samples. 3) The obtained data was analyzed as a case study and used to develop a strategic business model. The research results showed that: (1) the healthy food market is increasingly growing. Consumers prefer to consume healthy food that is alternative protein from plants and most consumers are millennials and baby boomers. The bamboo mushroom healthy food market is growing. (2) The overall consumer attitude was at a moderate level. Four new product ideas were developed including concentrate bamboo mushroom (beverage), stewed bamboo mushroom (ready to eat food), crispy bamboo mushroom (snack), and bamboo mushroom powder (instant drink) and the stewed bamboo mushroom was a product accepted by most consumers. The respondents rated the overall importance of marketing mix factors at a high level. (3) The strategic business model has been developed including nine factors of customer segment, value proposition, channels, customer relationships, revenue streams, key activities, key resources, key partners and cost structureen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons