Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10543
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัฒนา มัคคสมัน | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐณิชา บุตรเนียร, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-20T03:05:31Z | - |
dc.date.available | 2023-11-20T03:05:31Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10543 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการลงความคิดเห็นจากข้อมูลของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 ของโรงเรียนบ้านหนองนกเขียนนาเสถียร จังหวัดขอนแก่น จำนวน 11 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ คู่มือและแผนการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา และแบบทดสอบวัดความสามารถในการจัดกระทําและสื่อความหมายข้อมูลและการลงความคิดเห็นจากข้อมูลของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ มัธยฐาน พิสัย และการทดสอบสัญลักษณ์ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสามารถในการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลของเด็กปฐมวัย หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความสามารถในการลงความคิดเห็นจากข้อมูลของเด็กปฐมวัย หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ทัศนศึกษา | th_TH |
dc.subject | เด็กวัยก่อนเข้าเรียน--การศึกษาและการสอน--ไทย--ขอนแก่น.. | th_TH |
dc.subject | ครู--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาที่มีต่อความสามารถในการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลและการลงความคิดเห็นจากข้อมูลของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านหนองนกนาเสถียร จังหวัดขอนแก่น | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of field trip activities on organizing data and communicating ability and inferring ability of preschool children at Ban Nong Nok Kien Na Satien school in khon Kaen Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare organizing data and communication abilities of preschool children before and after undertaking the field trip activities; and (2) to compare inferring abilities of preschool children before and after undertaking the field trip Activities. The sample obtained by cluster random sampling comprised 11 preschool children, 5 - 6 years old, studying in kindergarten 3 level in the first semester of the 2019 academic year at Ban Nong Nok Kien Na Satien School in Khon Kaen province. The instruments used were a teacher’s handbook and experience plans for field trip activities, a communicating information ability test, and an inferring ability test. Statistics employed for data analysis were the median, inter-quartile range, and sign test. The results showed that (1) the post-experiment organizing data and communication ability of preschool children was significantly higher than their pre-experiment counterpart ability at the .05 level; and (2) the post-experiment ability of preschool children was significantly higher than their pre-experiment counterpart ability at the .05 level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พัชรี ผลโยธิน | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 29.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License