Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10556
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์เกสร บุญอำไพth_TH
dc.contributor.authorธันยาภัทร์ เบญจบริรักษ์กุลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-21T03:13:44Z-
dc.date.available2023-11-21T03:13:44Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10556en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง กิจกรรม ส่งเสริมการอ่านของเด็กปฐมวัย โดยการจัดแสดงนิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับครูผู้สอน เขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการ เรียนของผู้รับการฝึกอบรม ด้วยชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของเด็ก ปฐมวัย โดยการจัดแสดงนิทานประกอบหุ่นมือ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้รับการฝึกอบรม ที่มี ต่อชุดการฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของเด็กปฐมวัย โดยการจัดแสดง นิทานประกอบหุ่นมือ กลุ่มตัวอย่างคือครูผู้สอนระดับปฐมวัยในโรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 จำนวน 39 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุด ฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของเด็กปฐมวัย โดยการจัดแสดงนิทานประกอบ หุ่นมือ สำหรับครูผู้สอนเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 (2) แบบทดสอบก่อนและหลังการ ฝึกอบรม และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้รับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมแบบอิง ประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรม E,/E, การ ทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของเด็ก ปฐมวัย โดยการจัดแสดงนิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับครูผู้สอน 3 หน่วยประสบการณ์มีประสิทธิภาพ 84.73/83.50, 85.53/83.00 และ 86.13/83.50 เป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 85/85 (2) ผู้รับการฝึกอบรมมี ความก้าวหน้าทางการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 และ (3) ผู้รับการฝึกอบรมมีความ คิดเห็นต่อความเหมาะสมของชุดฝึกอบรมในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.94en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการส่งเสริมการอ่านth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectครูอนุบาล--การฝึกอบรม--แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.titleชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของเด็กปฐมวัย โดยการจัดแสดงนิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับครูผู้สอน เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2th_TH
dc.title.alternativeExperience-based instructional packages on reading enhancement activities of preschool children using puppet story show for teachers in Bangkok Educational Service Area 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.94-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: (1) develop experience based training packages on reading enhancement activities of preschool children using puppet story show for teacher in Bangkok Educational Service Area 2 to meet the 85/85 efficiency criterion; (2) investigate the learning progress of trainees learning from the experience based training packages; and (3) investigate the trainees' opinions toward the experience-based training packages. The research sample consisted of 39 early childhood education teachers in Bangkok Educational Service Area 2, obtained by multi-stage random sampling. The instruments used were (1) the experience-based training packages on reading enhancement activities of preschool children using puppet story show for teachers in Bangkok Educational Service Area 2; (2) achievement tests for pre-testing, formative testing, and post-testing; and (3) a questionnaires to investigate the trainees' opinions toward the appropriateness of the experience-based training packages. The statistics used were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the three units of the developed experience-based training packages had efficient at 84.73/83.50, 85.53/83.00 and 86.13/83.50 respectively, thus meeting the predetermined 85/85 efficiency criterion; (2) the trainees achieved significant learning progress at the .05 level; and (3) the trainees rated the appropriateness of experience-based training packages at the high level.en_US
dc.contributor.coadvisorชัยยงค์ พรหมวงศ์th_TH
dc.contributor.coadvisorประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิตth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons