Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10557
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธันยวัฒน์ เจริญชัย, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-21T03:30:20Z-
dc.date.available2023-11-21T03:30:20Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10557-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทของกรมประชาสัมพันธ์ในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย (2) แนวทางพัฒนาบทบาทของกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์เจาะลึกเลือกสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจากผู้เชี่ยวชาญด้านการประชาสัมพันธ์ นักรัฐศาสตร์ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้แทนสื่อมวลชน และประชาชนผู้รับข่าวสาร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของกรมประชาสัมพันธ์ในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยระหว่างปี 2540 - 2562 ประกอบด้วย 1. การเสนอข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนรับทราบ 2. เป็นช่องทางในการนำเสนอนโยบาย หรือโครงการต่าง ๆ ไปสู่การรับรู้ของประชาชน 3. การตรวจสอบรัฐบาล และสถาบันทางการเมืองทั้งหลายให้ดำเนินการตามบทบาท 4. การให้การศึกษาแก่ประชาชน 5. เปิดโอกาสต่อความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลาย ซึ่งมีความสำคัญต่อวิถีประชาธิปไตย โดยความสมบูรณ์ ทั้งนี้การทำหน้าที่ขึ้นอยู่กับทั้งปัจจัยภายในองค์กร ได้แก่ กรอบกฎหมาย จรรยาบรรณของสื่อ ส่วนปัจจัยภายนอก ได้แก่ การเมือง สภาพสังคม สถานการณ์บ้านเมือง (2) สำหรับแนวทางในการพัฒนาบทบาทของกรมประชาสัมพันธ์ ในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยต้องฉีกแนวทางการนำเสนอให้ทันเหตุการณ์ต่างๆ ให้มีความน่าสนใจ มีความหลากหลาย ออกจากกรอบราชการได้บ้าง อาจศึกษารูปแบบการดำเนินงานสถานี BBC ในเรื่องการเป็นอิสระทางการเมือง และรูปแบบรายการที่น่าสนใจของ Thai PBS ในการเข้าถึงชุมชน รวมทั้งควรจะมีนโยบายที่ชัดเจน เพื่อสร้างความโดดเด่น เน้นการทำให้ส่วนกลางรับฟังประชาชนในภูมิภาคให้มากขึ้น สนับสนุนสร้างระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม สร้างการรับรู้ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย รวมพัฒนาช่องสื่อสารประชาสัมพันธ์นโยบายของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง ทันสมัย เข้าถึงได้โดยง่าย ให้คนในท้องถิ่นรู้สึกเป็นเจ้าของสื่อมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรมประชาสัมพันธ์--การประชาสัมพันธ์th_TH
dc.subjectการพัฒนาประชาธิปไตย--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาบทบาทของกรมประชาสัมพันธ์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2540 - 2562th_TH
dc.title.alternativeThe direction of the department of public relation's role supporting the democracy in Thailand from 1997 - 2019en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study (1) the role of the Public Relations Department in supporting the Democracy in Thailand and (2) guidelines for developing the role of the Public Relations Department to support the development of democracy in Thailand. The information are collected from the document, the interview of Public relations specialist, political scientist and knowledges of the researcher's experience. of The data are analyse according to the qualitative analysis method by descriptive analysis form. The study found that (1) The role of the Public Relations Department in supporting the democracy in Thailand between 1997 and 2019 consists of the followings: 1.Providing the information to the public. 2. Propagating Government policy in various projects to generate the public perception. 3. Examining the government and political institutions to perform their roles. 4. Educated the people. 5. Public space for diverse opinions that are important to democracy. The completeness of their performance depends on both internal factors such as the legal framework, the media ethics. As for external factors are politics, social conditions political situation. (2) it is proposed that in order to develop the role of the Public Relations Department supporting Thai democracy, the news presentation should be , in various forms. Also getting out of the usual government framework is also required to be more interesting. BBC News’ operation may be considered as a model of political independence and Thai PBS’s media production may be considered for improving the quality of contents in community accession. Issuing the clear policy is required to make the organization stand out. Emphasizing on making of the government more receptive to the people of the regions. In order to support the participatory democracy, raising awareness ofpeople to be owners of sovereignty is appreciated. Including the continuous development of government policy communication channels, up to date and easily accessible. Make local people feel more owned by the mediaen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons