Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ แตงตาดth_TH
dc.contributor.authorธรรมรัตน์ พรหมพิงค์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-21T03:34:06Z-
dc.date.available2023-11-21T03:34:06Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10558en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่าน เครือข่าย กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงที่กระทำต่อวัตถุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ใน เขตพื้นที่การศึกษาลำพูนเขต 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อศึกษาความก้าวหน้า ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายกลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์ เรื่องแรงที่กระทำต่อวัตถุ และ (3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยชุด การเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงที่กระทำต่อวัตถุ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนชุมชนบ้าน ป่าไผ่ เขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต 2 จำนวน 29 คนได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่องแรง ที่กระทำต่อวัตถุ แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และแบบสอบถาม ความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E,/E2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายกลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์ เรื่องแรงที่กระทำต่อวัตถุ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยทั้ง 3 หน่วย คือ หน่วย ที่ 8 หน่วยที่ 9 และหน่วยที่ 10 มีประสิทธิภาพ 80.00/81.00, 81.13/82.00 และ 80.25/82.00 ตามลำดับ (2) นักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนผ่านเครือข่ายว่าอยู่ในระดับเหมาะสมมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.89en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectแบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.titleชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงที่กระทำต่อวัตถุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต 2th_TH
dc.title.alternativeComputer-based learning packages via network in the science learning area on the topic of force applied to objects for Mathayom Suksa I students in Lamphun Educational Service Area 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.89-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research sample consisted of 29 purposively selected Mathayom Suksa 1 The purposes of this research were (1) to develop the computer-based learning packages via network in the Science Learning Area on the topic of Force Applied to Objects for Mathayom Suksa 1 students in Lamphun Educational Service Area 2 to meet the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of students who learned from the computer-based learning packages via network in the Science Learning Area on the topic of Force Applied to Objects; and (3) to study the opinions of the students who learned from the computer-based learning packages via network in the Science Learning Area on the topic of Force Applied to Objects. students studying at Ban Paphai Community School in Lamphun Educational Service Area 2 in the 2008 academic year 2008. The research instruments used in the study were (1) the computer- based learning packages via network in the Science Learning Area on the topic of Force Applied to Objects; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire to investigate the student's opinions. Data were statistically analyzed to determine the efficiency of the computer-base learning packages by means of the E,/E2 efficiency, means, standard deviation, and t-test. The results of study indicated that: (1) the three units of computer-based learning packages via the network, namely, Unit 8, Unit 9, and Unit 10 met the 80/80 efficiency criterion as shown by their efficient indices of 80.00/81.00, 81.13/82.00, and 80.25/82.00 respectively; (2) the students significantly achieved learning progress at .05 level; and (3) the students opined that the computer-based learning packages via network were highly appropriate.en-US
dc.contributor.coadvisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons