Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10571
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรัญญา ปุณณวัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | สมชาย พงษ์เถื่อน, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-22T03:50:01Z | - |
dc.date.available | 2023-11-22T03:50:01Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10571 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาคลังข้อมูลสำหรับการบริหารศูนย์เหล็ก 2) พัฒนาระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการบริหารศูนย์เหล็ก และ 3) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการบริหารศูนย์เหล็ก แหล่งข้อมูลสำหรับการศึกษาครั้งนี้คือรายการธุรกรรมจากระบบบริหารเหล็กแบบบูรณาการหรือไอเอสเอ็มเอส กลุ่มตัวอย่างสำหรับการประเมินความพึงพอใจของการศึกษาครั้งนี้มี จำนวน 30 คนโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เป็นผู้ปฏิบัติงานระดับผู้จัดการและระดับหัวหน้างานของ บริษัท สยามไฮเทศสตีลเซ็นเตอร์ จำกัด เครื่องมือในการศึกษาคือ 1) ขีไอโมเดลเลอร์นำมาใช้สำหรับการออกแบบจำลองหลายมิติ 2) ไมโครซอฟต์เอสคิวแอลเซิร์ฟเวอร์นำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคลังข้อมูล 3) เอสคิวแอลเซิร์ฟเวอร์อินทิเกรชันเซอร์วิสนำมาใช้สำหรับกระบวนการอีทีแอลเพื่อสกัด แปลง และโหลดข้อมูลเข้าสู่คลังข้อมูล 4) ไมโครซอฟท์พาวเวอร์บีไอนำมาใช้สร้างรายงานและแดชบอร์ค และ 1) แบบสอบถามนำมาใช้เพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทางสถิติสำหรับการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ผลการศึกษาพบว่า 1) คลังข้อมูลที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์ทางธุรกิจตามแนวคิดของธุรกิจอัจฉริยะได้ 2) ระบบธุรกิจอัจฉริยะที่พัฒนาขึ้นสามารถนำเสนอข้อมูลของศูนย์เหล็ก ประกอบด้วย 4 รายงานหลัก คือ ด้านผลิตภาพของการผลิต ด้านการควบคุมการผลิต ด้านการจัดส่งสินค้า และด้านรายได้จากการบริการแปรรูปเหล็ก รายงานเหล่านี้สามารถเรียกดูได้ทางพาวเวอร์บีไอเซอร์วิสโดยใช้เว็บเบราเซอร์หรือทางแอปพลิเคชันมือถือพาวเวอร์บีไอ และ 3) ความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการบริหารศูนย์เหล็กโดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 3.73 และส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.29 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ธุรกิจอัจฉริยะ | th_TH |
dc.subject | การสร้างคลังข้อมูล | th_TH |
dc.subject | การจัดการฐานข้อมูล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร | th_TH |
dc.title | ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการบริหารศูนย์เหล็ก | th_TH |
dc.title.alternative | Business intelligence system for steel center management | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this independent study were 1) to develop a data warehouse for steel center management, 2) to develop a business intelligence system for steel center management, and 3) to evaluate users’ satisfaction of the business intelligence system for steel center management. Data sources for this study were the business transactions from the Integration Steel Management System (ISMS). The samples for the satisfied evaluation of this study were 30 people selected using the specific selection method. They were the operators in management level and supervisor level of Siam Hi-Tech Steel Center Co., Ltd. The study tools were as follows: 1) BI Modeler was used for multidimensional modelling design, 2) Microsoft SQL Server was used as a developing tool for a data warehouse, 3) SQL Server Integration Service (SSIS) was used for an ETL process to extract, transform and load data into the data warehouse, 4) Microsoft Power BI Desktop was used to generate reports and dashboards, and 5) a questionnaire was used to find statistical mean and standard deviation to evaluate users' satisfaction. The study results showed that 1) the evolving data warehouse can be used for business analytics based on the conceptual of the business intelligence system, 2) the development of the business intelligence system was capable for presenting 4 main reports which were production productivity reports, process control reports, shipment reports and revenue reports. The reports can be accessed via Power BI Service using web browser or via Power BI mobile application, and 3) users’ satisfaction of the business intelligence system for steel center management was at high level. The mean value was 3.73 and the standard deviation value was 0.29 | en_US |
Appears in Collections: | Science Tech - Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 38.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License